Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีพัฒนาการทางสังคมและบุคคลิกภาพของอีริคสัน (Phychosocial Development…
ทฤษฎีพัฒนาการทางสังคมและบุคคลิกภาพของอีริคสัน (Phychosocial Development theory in Erikson)
ความเป็นมาของทฤษฎีอีริคสัน
จัดอยู่ในกลุ่มฟรอยด์รุ่นใหม่
เขียนหนังสือเล่มแรกคือ "Childhood and Society"
พัฒนาแนวคิดมาจากฟรอย์เเละความคิดที่ต่างกัน
ให้ความสำคัญของ Ego มากกว่า Id
พัฒนาการของคนพัฒนาไปจนถึงวาระสุดท้ายของชีวิต
เน้นความสำคัญ
วัฒนธรรม
สิ่งแวดล้อมด้านจิตใจ
สังคม
บุคคลิกภาพจะพัฒนา
ตามขั้นตอน
ตามความพร้อมของบุคคลจากการเรียนรู้
ทฤษฎีจิตสังคม(Psyhological Theory)
ขั้นที่ 1 อายุ 1-2 ขวบ ไว้ใจหรือไม่ไว้ใจ (Trust vs Mistrust)
วัยทารกช่วงแรกเกิด -1 1/2 ปี
เป็นรากฐานที่สำคัญของการพัฒนาการในวันต่อไป
จำเป็นต้องมีผู้เลี้ยงดูเพราะช่วยตัวเองไม่ได้ ต้องเอาใจใส่รวมทั้งท่าทีของบิดามารดา
การพูดอ่อนโยน
การสัมผัส
ยิ้ม
อุ้ม
ถ้าทารถไม่ได้รับความรักเเละการตอบสนองอย่างเหมาะสม
ไม่ไว้วางใจใคร
มองโลกในแง่ร้าย
คับข้องใจ
วิตกกังวล
มีความรู้สึกไม่มั่นใจ
ขั้นที่ 2 อายุ 2-3 ขวบ เป็นอิสระหรือละอายสงสัย Autonomous vs Shame and Doubt
วัยอายุ 1 1/2 - 3 ปี
เป็นระยะที่เด็กกำลังเจริญเติบโตมีพัฒนาการ
ด้านร่างกาย
ด้านจิตใจ
เป็นวัยที่เริ่มเดินได้ สามารถที่จะพูดได้
ความเจริญเติบโตของร่างกายช่วยให้เด็กมีอิสระ
พึ่งตัวเองได้
มีความอยากรู้อยากเห็น
การฝึกเด็กช่วงนี้อยู่บนพื้นฐานสัมพันธภาพที่ดีระหว่าง
มารดา
บุตร
บิดา
ในทางตรงกันข้ามถ้าเด็กถูกบังคับเข้มงวด
เกิดความขัดแย้งในใจ
มีบุคคลิกภาพแบบไม่มั่นใจตนเอง
เกิดความไม่แน่ใจให้ความสามารถตนเอง
ขั้นที่ 4 อายุ 6-11 ขวบ ขยัน หรือมีปมด้อย Industry vs Inferiority
เด็กอายุ 6-12 ปี อีริคสันใช้คำว่า Industry
เรียกวัยนี้ว่า Sense of Industry
มีพัฒนาการด้านสติปัญญาและร่างกาย
มีความทุ่มเทและมุ่งมั่นในการทำงานต่างๆ
ถ้าไม่สำเร็จก็จะเกิดความรู็สึกด้อย
รู้สึกตนเองไม่เก่ง
ไม่มีความสามารถ
ขั้นที่ 3 อายุ 4-5 ขวบ คิดริเริ่ม หรือรู้จักผิด Initiative vs Guilt
วัยเด็กอายุประมาณ 3-5 ปี
อีริคสันเรียกวัยนี้ว่าเป็นวัยที่เด็กมีสภาพร่างกายที่เจริญเติบโตเเละมีพัฒนาการดีมาก
พยายยามเลียนแบบการกระทำของผู้ใหญ่
จะมีความคิดริเริ่มอยากจะทำอะไรด้วยตัวเอง
ใช้ลังกระดาษเป็นรถยนต์
ขับรถยนต์เหมือนผู้ใหญ่
ถ้าเด็กไม่ได้รับการกระตุ้นการสนับสนุนถูกตำหนิติเตียน
เกิดความรู้สึกผิด
ไม่กล้าทำในสิ่งที่ผู้อื่นอยากให้ทำ
ขั้นที่ 6 อายุ 20-35 ปี ผูกผัน หรือตีตัวออกห่าง Intimacy vs lsolation
อายุ 20-40 ปี (เป็นวัยผู้ใหญ่ระยะต้น)
เเต่ถ้าไม่สามารถสร้างความรู้สึกผูกพันใกล้ชิดกับผู้อื่น
ทะเลาะเบาะแว้ง
ชิงดีชิงเด่น
ปรับตัวเข้ากับใครไม่ได้
ใช้ชีวิตอยู่โดดเดี่ยว
นำไปสู่การแตกแยกในชีวิตคู่
ชายและหญิงเริ่มรู้จักตนเองว่ามีจุดมุ่งหมายในชีวิตอย่างไร
พร้อมที่จะมีความสัมพันธ์กับเพื่อนต่างเพศ
มีความคิดสนใจที่จะแต่งงานมีบ้านของตนเอง
ถ้าสามารถสร้างความรู้สึกผูกพันกับผู้อื่นได้
อยู่ร่วมกันได้ดี
ถ้อยทีถ้อยอาคัยกัน
รู้จักแบ่งปันพึงพา
ขั้นที่ 7 อายุ 36-45 ปี ให้กำเนิด หรือหมกหมุ่นในตัวเองGenerativity vs Stagnation
อายุ 40-60 ปี (วัยกลางคน)
เป็นวัยที่เป็นห่วง้พื่อนร่วมโลก
ให้การส่งเสริมผู้อื่น
ให้ความรู้ คนรุ่นหลัง
ให้การอบรมสั่งสอนบุตรหลานให้เป็นคนดี
ช่วยทำงานด้านศาสนา
ทำตัวให้เป็นประโยชน์ต่อสังคมและปรับตัวอย่างมีความสุข
ถ้าบุคคลไม่สามารถพัฒนาถึงขั้นนี้ได้
มีปัญหากับลูกหลานและบุคคลรอบข้าง
ไม่ทำประโยชน์ใดๆแก่สังคม
เกิดความรู้สึกท้อถอยเหนื่อยหน่ายในชีวิต
ทำกิจกรรมในสังคมเพื่อชื่อเสียงและประโยชน์ตนเองเพียงอย่างเดียว
ขั้นที่ 8 อายุ 45 ขึ้นไปมีศักดิ์ศรี หรือหมดหวัง Ego Integrity vs Despair
เข้าสู่สถานะภาพเกษียณ คนวัยนี้จะเป็นผลของเเต่ละขั้นที่ผ่านมา
ยอมรับว่าได้มีชีวิตที่ดีและได้ทำดีที่สุด
ไม่กลัวความตาย พร้อมที่จะตาย
มีความพอใจในสภาพชีวิตของตน
เป็นนายของตัวเอง
อายุ 60 ปีขึ้นไป (วัยระยะบั้นปลายของชีวิต)
คนที่มีปัญหาในชีวิตขั้นต้นๆและแก้ไขไม่ได้
จะไม่พอใจในตัวเอง
ขาดความสุข
มีความทุกข์ใจและรู้สึกสิ้นหวังท้อแท้
ไม่สามารถปรับตัวกับสภาพความเป็นอยู่ของตนได้
รู้สึกว่าตนเองไม่มีประโยชน์
ขั้นที่ 5 อายุ 11-18ปี เข้าใจบทบาทของตัวเอง หรือ สับสนในบทบาทของตัวเอง Ego Identity vs Role Confusion
อายุ 12 - 18 ปี (เป็นช่วงวัยรุ่น)
มีความเจริญเติบโต
ทางด้านร่างกาย
การเปลี่ยนแปลงทางเพศทั้งชายและหญิง
สามารถวิเคราะห์และหาเอกลักษณ์ตนเองได้
ตนเองคือใคร
ต้องการอะไร
มีความเชื่อ เจตคติ และเป้าหมายในอนาคตอย่างไร
ถ้าวิเคราะห์ตนเองไม่ออกว่าตนเองเป็นใคร ต้องการอะไร เป้าหมายในชีวิตเป็นอย่างไร
รับเอาบทบาทของผู้อื่นที่ไม่เหมาะสมกับตนเอง
เกิดความสับสน
แสดงบทบาทไม่ถูกต้อง