Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สถานการณ์บท 3.8 - Coggle Diagram
สถานการณ์บท 3.8
การเตรียมตัวเพื่อรับสถานการณ์ของทีม MCATT
จัดตั้งศูนย์อำนวยการช่วยเหลือด้านสุขภาพจิต (ทีมMCATT/MCC) ทั้งในระดับจังหวัดและอำเภอ
เตรียมทีมเพื่อปฏิบัติงานให้การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต
การฝึกอบรมเกี่ยวกับการช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต
อบรมความรู้เรื่องการใช้แบบประเมิน/แบบคัดกรองภาวะสุขภาพจิต
อบรมความรู้เรื่องวัฒนธรรม ธรรมเนียมปฏิบัติ และหลักคำสอนทางศาสนา
รับนโยบายยจากผู้ว่าราชการจังหวัด/แพทย์สาธารณสุขจังหวัด เพื่อรองรับสถานการณ์วิกฤต
เตรียมความพร้อมของชุมชนเพื่อรับมือกับสถานการณ์วิกฤต
ซ้อมแผนการช่วยเหลือด้านสุขภาพจิต
ทบทวนบทบาทหน้าที่ภายในทีม MCATT
การปฐมพยาบาลด้านจิตใจด้วยหลัก EASE
Assessment: A
ด้านจิตใจ
ประเมินสภาพจิตใจว่าผู้ประสบภัยอยู่ในอารมณ์ใด
ช็อคและปฏิเสธ
จัดให้อยู่สถานที่สลบ นั่งรับฟังในสิ่งที่เขาระบายความรู้สึก สอบถามความช่วยเหลือเร่งด่วยที่ต้องการ
โกรธ
ดูแลรับฟังด้วยท่าทีสงบ เว้นระยะห่างพอประมาณ ใช้ทักษะการฟังอย่างตั้งใจ
ผู้ที่ได้รับการประเมินภาวะฆ่าตัวตายแล้ว
ลดเงื่อนไขการต่อรอง
รับฟังมากขึ้น
หากมีหดหู่ ท้อแท้ ไม่มีกำลังใจ ระวังภาวะซึมเศร้า
อารมณ์สงบ
ต่อรอง
อดทนรับฟัง สนองความต้องการในสิ่งที่ให้ได้ ไม่รับปากในสิ่งที่ไม่ทราบหรือหาให้ไม่ได้ พร้อมกับให้ข้อมูลที่ถูกต้อง รวมไปถึงควรมีทักษะในการบอกข่าวร้าย
เสียใจ
ร้องไห้ คร่ำครวญ ซึมเศร้า โทษตัวเอง หมดเรี่ยวแรง
ด้านร่างกาย
หากได้รับบาดเจ็บให้ช่วยโดยการให้ยา
หากมีอาการอ่อนเพลีย ควรหาน้ำให้ดื่ม หรือหาอาหารให้ทาน
ถ้าเป็นลม ควรหายาดมหรือผ้าเย็นเช็ด
หากอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย ให้เคลื่อนย้ายมาอยู่ในที่ที่ปลอดภัยก่อน
Skills: S
ทักษะการ Grounding ช่วยให้ผู้ประสบภัยอยู่กับความเป็นจริง
การนวดสัมผัส
ฝึกกำหนดลมหายใจ (Breathing exercise)
การลดความเจ็บปวดทางใจ
สะท้อนความรู้สึก
การเงียบ
ฟังอย่างตั้งใจ
การพูดทวนซ้ำ
Touching skill (การสัมผัส) ควรให้เหมาะสมกับโอกาส
การเสริมสร้างทักษะ
ในการลดความวิตกกังวล และควรหลีกเลี่ยงการดื่มสุรา รับประทานอาหารมาก/น้อยเกินไป สูบบุหรี่จัดๆ การทำกิจกรรมเสี่ยงๆ หรือการใช้ความเร็วเพื่อคลายความวิตกกังวล
Engagement: E
สร้างสัมพันธภาพ
ควรมีท่าทีสงบขณะพูดคุย แสดงอารมณ์ให้เหมาะสมกับสถานการณ์และสภาพสังคม
การสื่อสาร
เริ่มพูดคุยเมื่อผู้ประสบภัยมีความพร้อมที่จะพูด
สังเกตุพฤติกรรม
Nonverbal คือ สีหน้า แววตา ท่าทาง การเคลื่อนไหวของร่างกาย
Verbal คือ พูดสับสนฟังไม่รู้เรื่อง ด่าทอ ร้องขอความช่วยเหลือ พูดซ้ำไปซ้ำมา พูดวกวน
Education: E
เติมเต็มความรู้
ติดตามอย่างต่อเนื่อง
ตรวจสอบความต้องการ