Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3.8 การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ประสบสาธารณภัย, น.ส. สุณิสา บัวหอม…
บทที่ 3.8 การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ประสบสาธารณภัย
การปฐมพยาบาลด้านจิตใจ
(Psychological first Aid: PFA)
หลัก
EASE
Engagement: E
การ
สังเกตภาษาท่าทาง
และพฤติกรรม
Nonverbal
สีหน้า แววตา ท่าทาง การเคลื่อนไหวของร่างกาย
Verbal
พูดสับสนฟังไม่รู้เรื่อง ด่าทอ ร้องขอความช่วยเหลือ พูดซ้ำไปซ้ำมา พูดวกวน
การสร้างสัมพันธภาพ
ผู้ให้การช่วยเหลือมีท่าทีสงบนิ่ง
แนะนําตัวเอง มองหน้าสบตา
รับฟังด้วยท่าทีสงบ
ให้กําลังใจด้วยการพยักหน้า + สัมผัส
ควรเหมาะสมกับเหตุการณ์ อารมณ์ ความรู้สึก และสภาพสังคม วัฒนธรรม ศาสนาของผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤต
การสื่อสาร
ควรเริ่มพูดคุยเบื้องต้นเมื่อผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตมีความพร้อม
Assessment: A
วิธีการ
ประเมินผู้ได้รับผลกระทบ
ใช้หลัก
3 ป
.
:checkered_flag:ประเมินและตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย
บาดเจ็บทางด้านร่างกาย
บรรเทาความเจ็บปวดด้วยการให้ยา
มีอาการอ่อนเพลีย
หานํ้าให้ดื่ม + อาหารให้รับประทาน
เป็นลม
หายาดมแอมโมเนีย ผ้าเย็นเช็ดหน้าและแขน
อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย
เคลื่อนย้านไปอยู่ในที่ปลอดภัย
:checkered_flag:การประเมินสภาพจิตใจ
อยู่ในภาวะ
ช็อกและปฏิเสธ
การดูแลทางกาย
3 more items...
การดูแลทางจิตใจ
2 more items...
การช่วยเหลือทางสังคม
1 more item...
อยู่ในภาวะ
โกรธ
การดูแลทางกาย
2 more items...
การดูแลทางใจ
1 more item...
อยู่ในภาวะ
ต่อรอง
อดทน รับฟัง ไม่แสดงอาการท่าทางเบื่อหน่าย
สนองความต้องการในสิ่งที่สามารถให้ได้
ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ที่เป็นจริงตามความเหมาะสม
ทักษะการประเมินอารมณ์ + ทักษะการบอกข่าวร้าย
อยู่ในภาวะ
เสียใจ
ช่วยเหลือทางกาย
4 more items...
การประเมินภาวะฆ่าตัวตาย
2 more items...
:checkered_flag:ประเมินความต้องการทางสังคม
ติดต่อประสานญาติ/ครอบครัวโดยการโทรศัพท์
ผู้ประสบภาวะวิกฤตไร้ญาติขาดมิตร
หาที่พักพิงชั่วคราวให้
ถ้าต้องการความช่วยเหลือด้านการเงิน
ติดต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
Skills: S
วิธีการ
เรียกขวัญคืนสติ
ลดความเจ็บปวดทางใจเสริมสร้างทักษะ
:star:ฝึกกําหนดลมหายใจ (Breathing exercise) เพื่อผ่อนคลาย
:star:การสัมผัสทางกาย โดยคำนึกถึงความเหมาะสม
:star:ทักษะการ Grounding
ช่วยให้ผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตที่มีอารมณ์ท่วมท้น (overwhelmed feeling) กลับมาอยู่กับความเป็นจริง
เพิ่มปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมรอบตัว
:star:การนวดสัมผัส + การนวดกดจุดคลายเครียด
ถ้าผู้ถูกสัมผัสมีท่าทีไม่ต้องการ ก็ไม่ควรใช้วิธีการนวดสัมผัส
:star:การลดความเจ็บปวดทางใจ
การฟังอย่างใส่ใจ (Active Listening)
สรุปประเด็นปัญหาเป็นช่วงๆ เพื่อให้เกิดความเข้าใจ
โดยแสดงท่าทีเป็นมิตรและอบอุ่น
การสะท้อนความรู้สึก
ทำให้เขาได้วิเคราะห์อารมณ์ของตัวเองว่ากําลังรู้สึกอะไรอยู่
ลดอารมณ์รุนแรง พลุ่งพล่านลงได้
การเงียบ
การทวนซ้ำ
ทําให้ผู้รับบริการรู้สึกว่าตนเองเป็นที่เข้าใจ ยอมรับ และอบอุ่นใจ
:star:การเสริมสร้างทักษะ
Coping skills
การคุยและใช้เวลาคุยกับคนอื่นๆ
พักผ่อนเพียงพอ
ทํากิจกรรมที่มีความสุข
หลีกเลี่ยงความหมกมุ่น และอบายมุข
พยายามทํากิจวัตรประจําวันตามปกติให้ได้มากที่สุด
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ทุกมื้อ
ใช้วิธีคลายกล้ามเนื้อ + คลายเครียด
ใช้วิธีพูดกับตัวเองให้สงบ
หาที่ปรึกษา/จดบันทึกลงในสมุด
Educatio: E
วิธีการให้สุขภาพจิตศึกษาและข้อมูลที่จําเป็น
ประกอบด้วย
3 ต.
ต.1 ตรวจสอบความต้องการ
สอบถามความต้องการที่จำเป็นและเร่งด่วน
เพื่อวางแผนสนับสนุนแหล่งข้อมูลการช่วยเหลือด้านสังคม ด้านจิตใจ หรือด้านการแพทย์ต่อไป
ต.2 เติมเต็มความรู้
ให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาการที่เกิดขึ้นจากความเครียด + ผลกระทบทางจิตใจ
บอกวิธีการปฏิบัติตัวเพื่อลดความเครียด + แหล่งช่วยเหลือต่างๆ
ต.3 ติดตามต่อเนื่อง
ร่วมกันวางแผนและหาแนวทางในการรับการช่วยเหลือต่างๆ เพิ่มเติม
โทรศัพท์ติดตามผล
เยี่ยมบ้าน
นัดหมายมาพบที่สถานบริการสาธารณสุข
ถ้าท่านคือพยาบาลในทีม mcatt ท่านจะมีการเตรียมตัวเพื่อรับสถานการณ์ฉุกเฉินอย่างไร
:red_flag:
ระยะเตรียมการ
เตรียมความพร้อมทั้งระดับบุคคล องค์กรและชุมชน
นโยบายจากผู้ว่าราชการจังหวัด/นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด
จัดเตรียมโครงสร้างการดําเนินงานช่วยเหลือด้านสุขภาพจิตผู้ประสบภาวะวิกฤต และแผนการดําเนินงานเพื่อรองรับสถานการณ์วิกฤต
จัดตั้งศูนย์อํานวยการช่วยเหลือด้านสุขภาพจิต
ผู้ประสบภาวะวิกฤต
MCC
ทีม MCATT
จัดเตรียมทีมเพื่อปฏิบัติงานให้การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต
โดยพัฒนาความรู้และทักษะของบุคลากร
เกี่ยวกับ
การใช้แบบประเมิน/ แบบคัดกรองภาวะสุขภาพจิตทั้งเด็กและผู้ใหญ่
วัฒนธรรม ธรรมเนียมปฏิบัติ และหลักคําสอนทางศาสนา
การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต (Intervention)
Crisis Intervention
การบําบัดทางพฤติกรรมความคิด (CBT)
การให้การปฐมพยาบาลทางจิตใจ (PFA)
เตรียมความพร้อมของชุมชนเพื่อรับมือกับสถานการณ์วิกฤต
การให้ความรู้เรื่องภัยพิบัติ
การปฏิบัติตัวเมื่อเกิดภัยพิบัติ
ระบบการเตือนภัย
หน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือ
ซ้อมแผนการช่วยเหลือด้านสุขภาพจิตผู้ประสบภาวะวิกฤต
:red_flag:
ระยะวิกฤตและฉุกเฉิน (72 ชม.แรกหลังเกิดเหตุ - 2 สป.)
:pencil2:ระยะวิกฤต (ภายใน
72 ชั่วโมงแรก
หลังเกิดเหตุ)
เน้น
:!: การช่วยเหลือตามสภาพความเป็นจริง
ด้านร่างกาย ความต้องการพื้นฐาน
อาหาร
เครื่องนุ่งห่ม
ที่อยูjอาศัย
ของใช้ที่จําเป็น
ด้านจิตใจ
ให้การปฐมพยาบาลด้านจิตใจแก่ผู้ประสบภาวะวิกฤต (PFA)
ช่วยเหลือตามความต้องการ
(Normal Reaction at Abnormal Situation)
:pencil2:ระยะฉุกเฉิน (
72 ชั่วโมง - 2 สัปดาห์
)
สํารวจหาข้อมูลของสถานการณ์ และความต้องการของผู้ประสบภาวะวิกฤตได้ชัดเจน
ประเมินคัดกรองภาวะสุขภาพจิตเพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงในแต่ละวัย
นํามาวางแผนในการช่วยเหลือ
การจัดลําดับความต้องการของกลุ่มเสี่ยง
แบ่งกลุ่มตามความรุนแรง
กลุ่มผู้ได้รับผลกระทบหลังประสบภาวะวิกฤต
กลุ่มผู้สูงอายุและเด็ก
กลุ่มผู้ป่วยที่มีประวัติการรักษาทางจิตเวช/ใช้สารเสพติด
กลุ่มผู้พิการและเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มผู้สูญเสียบุคคลในครอบครัว/ทรัพย์สิน
กลุ่มผู้ที่ต้องการบริการด้านสุขภาพจิต
ขั้นตอนการช่วยเหลือ
ทีม MCATT + ทีมช่วยเหลือทางกาย เข้าพื้นที่ให้การช่วยเหลือผู้ประสบภาวะวิกฤตในพื้นที่เสี่ยง
เพื่อ
ประเมินสถานการณ์ด้านสุขภาพจิต
กําหนดพื้นที่ที่จะไปช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง
เตรียมความพร้อมของทีม
รับทราบบทบาทหน้าที่
จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์
แบบประเมิน/ คัดกรองภาวะสุขภาพจิต
ทบทวนความรู้เรื่องการใช้แบบประเมิน/แบบคัดกรองภาวะสุขภาพจิต
คัดกรองและค้นหากลุ่มเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิต
สํารวจความต้องการช่วยเหลือทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
ให้การปฐมพยาบาลด้านจิตใจ (PFA)
สร้างสัมพันธภาพกับผู้ประสบภาวะวิกฤต
สํารวจความต้องการ ด้านปัจจัยสี่
ความต้องการได้รับการดูแลรักษาโรคทางกาย
เน้น
:!!: ให้ผู้ประสบภาวะวิกฤต
ระบายความรู้สึก
ให้มากที่สุด
ให้การปรึกษาปัญหาสุขภาพจิตอย่างเร่งด่วน (Crisis Counseling)
กรณีพบความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพจิต
จัดทําทะเบียนกลุ่มเสี่ยงและวางแผนการติดตามต่อเนื่อง
สรุปรายงานสถานการณ์เบื้องต้นพร้อมทะเบียนกลุ่มเสี่ยง
น.ส. สุณิสา บัวหอม 6001211085 Sec B