Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5.4 ความผิดปกติของการหายใจ, นางสาวธิดารัตน์ ภูพานทอง รหัส 602701034 …
บทที่ 5.4 ความผิดปกติของการหายใจ
Covid-19
การดูแลกลุ่มปกติ
ฝากครรภ์ตามนัด
หลีกเลี่ยงการสัมผัส
รักษาระยะห่าง
เลี่ยงการใช้มือสัมผัสบริเวณดวงตาปากจมูก
รับประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม่
งดใช้ของส่วนตัวร่วมกับผู้อื่น
ล้างมือบ่อยๆด้วยสบู่และน้ำสะอาด
ไอ จามปิดปาก
ถ้ามีอาการไข้ ไอเจ็บคอให้รีบไปพบแพทย์
การดูแลกลุ่มเสี่ยง
แยกกักตัวสังเกตอาการ 14 วัน
งดออกชุมชน
พิจารณาเลื่อนฝากครรภ์หากอยู่ในวันกําหนดกักตัว
กรณีเจ็บครรภ์คลอดต้องไปโรงพยาบาลทันที
การรักษาด้วยยา
Favipiravir
วันที่ 1:8 เม็ดวันละ2 ครั้ง
วันที่ 2-10:3 เม็ดวันละ2 ครั้ง
มีโอกาสเกิด teratogenic effect ควรระวัง
ข้อปฏิบัติในการบีบน้ำนมและการป้อนนม
อาบน้ำหรือ เช็ดทําความสะอาดบริเวณเต้านม
ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่หรือแอลกอฮอล์ 70% ขึ้นไป
สวมหน้ากากอนามัย ตลอดการทํากิจกรรม
งดการสัมผัสบริเวณใบหน้าของตนเองและทารก
ป้อนนมทารกด้วยการใช้ช้อนหรือถ้วยเล็ก
ล้างทําความสะอาดอุปกรณ์การให้นมหลังเสร็จสิ้นกิจกรรม
ดูแลทารกแรกเกิด
ยังไม่มีหลักฐานการติดต่อผ่านทางรกหรือทางน้ำนม
แยกตัวออกจากทารกอื่น และต้องสังเกตอาการ 14 วัน
อธิบายถึงความเสี่ยง การเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาให้มารดาเข้าใจ
ยังไม่มีหลักฐานทางวิชาการในการแพรเ่ชื้อไวรัส ผ่านทางน้ำนม
หอบหืดในหญิงตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
ไอเรื้อรัง (> 8 weeks)
หายใจลําบากหรือแน่นหน้าอก
หายใจมีเสียง wheezing
เหงื่ออกมาก
หายใจเร็ว > 35 bpm
ชีพจร > 120 bpm
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
อาการและอาการแสดง
การตรวจร่างกาย
ได้ยินเสียง wheezing หรอื rhonchi
ตรวจเสมหะย้อมเชื้อ
ตรวจเอกซ์เรย์ทรวงอก
ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์
ด้านมารดา
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ตกเลือด
asthmatic attack
ด้านทารก
คลอดก่อนกําหนด
นาหนักตัวน้อย
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ตายปริกำเนิด
ผลของการตั้งครรภ์ต่อโรค
ช่วงแรกของการตั้งครรภ์
หัวใจทำงานหนักขึ้น หายใจลำบาก
ช่วงหลังของการตั้งครรภ์
ปริมาตรอากาศเหลือค้างในปอดการแลกเปลี่ยนก๊าซไม่สมบูรณ์
การพยาบาล
ระยะคลอด
จัดท่านอนศีรษะสูง
ดูแลให้ออกซิเจนเมื่อหอบ
รับประทานยาตามแผนการรักษา
ประเมินลักษณะการหายใจ ชีพจร สีเล็บ
ระยะหลังคลอด
ได้รับยารักษาโรคหอบหดื อย่างต่อเนื่อง
เน้นการปองกันการตกเลือดหลังคลอด
ส่งเสรมิ การเลียงบุตรด้วยนมมารดา
ระยะตั้งครรภ์
ฝากครรภ์ตามนัด
หลีกเลี่ยงอากาศเย็นหรือร้อน
รับประทานยาตามแผนการรักษา
นับและบันทึกลูกดิ้นรับประทานอาหารเน้นโปรตีน
วรรณโรคปอดในหญิงตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
มีอาการไอ ไอแห้งๆต่อมาจึงมีเสมหะ
อาการไอมักจะเรื้อรังมากกว่า 3 สัปดาห์
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักตัวค่อยๆลดลง ไอมากเวลาเข้านอนหรือตอนเช้า
มีไข้ตอนบ่าย เหงื่อออกตอนกลางคืน
การวินิจฉัย
ส่งตรวจเสมหะ
Acid fast bacilli staining
Culture for mycobacterium tuberculosis
Polymerase chain reaction (PCR)
การซักประวัติอาการและอาการแสดง
Tuberculin skin test
X-ray ปอด
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ดูแลให้อยู่ในห้องแยกให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์และความก้าวหน้าของการคลอด
ระยะคลอด
แยกทารกออกจากมารดา
ทารกแรกเกิดควรได้รับการตรวจ Tuberculin skin test
ทารกได้รับการฉีด BCG
ระยะหลังคลอด
แนะนํารับประทานยาตามแผนการรักษา
แนะนําให้รับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง
จัดสิ่งแวดล้อมในบ้านให้อากาสถ่ายเทได้สะดวก
สวมผ้าปิดปาก
ฝากครรภ์ตามนัด
นางสาวธิดารัตน์ ภูพานทอง รหัส 602701034