Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกและเด็กที่มีความพิการแต่กำเนิด, นางสาวจิราวรรณ บุญเต็ม…
การพยาบาลทารกและเด็กที่มีความพิการแต่กำเนิด
การพยาบาลเด็ก/ทารกที่มีความพิการแต่กำเนิด
Cleft-lip , Cleft-palate
ความหมาย
ปากแหว่ง (Cleft-lip) หมายถึงมีความผิดปกติบริเวณริมฝีปาก เพดานส่วนหน้าแยกออกจากกัน
เพดานโหว่(Cleft-palate) มีความผิดปกติบริเวณเพดานหลังแยก
ออกจากกันซึ่งเกิดได้ระยะทารกอยู่ในครรภ์มารดาช่วง 12 สัปดาห์
อุบัติการณ์
ปากแหว่งอย่างเดียวอาจเป็นข้างเดียว (unilateral cleft lip) ไม่มี
เพดานโหว่ พบได้ ประมาร 21 %
ปากแหว่งสอง (bilateral cleft lip) ร่วมกับเพดานโหว่ พบได้ประมาณ 46 %
เพดานโหว่อย่างเดียวพบได้ประมาณ 33 %
การวินิจฉัย
สามารถตรวจได้เมื่ออายุครรภ์ 13-14 สัปดาห์ ด้วย ultrasound
การซักประวัติเพื่อหาสาเหตุทางกรรมพันธุ์
การตรวจร่างกาย เพดานโหว่ โดยสอดนิ้วตรวจเพดานปากภายใน
อาการและอาการแสดง
เมื่อทารกมีปากแหว่ง เพดานโหว่ การดูดกลืนจะผิดปกติ เนื่องจากอม หัวนมไม่สนิท มีรูรั่วให้ลมเข้า ต้องใช้แรงมากขึ้น
เกิดการสำลักเพราะไม่มีเพดานรองรับ เมื่อมีการกลืนอาหาร
หายใจลำบาก
อาจติดเชื้อในหูชั้นกลางทำให้มีปัญหาการได้ยินผิดปกติ
การรักษาปากแหว่ง
การทำผ่าตัด
อาจทำภายใน 48 ชม. หลังคลอดในรายที่ เด็กสมบูรณ์ดี
อายุอย่างน้อย 8 - 12 สัปดาห์
Triangular Flap
Rotation Advancement Method
Straight Line Repair
การพยาบาลเด็กปากแหว่งเพดานโหว่
เปูาหมายของการพยาบาล คือ การดูแลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและ พัฒนาการปกติหรือใกล้เคียงปกติมากที่สุด
การวางแผนการพยาบาลต้องคำนึงถึงความต้องการการดูแลที่จำเป็น
บิดา มารดา วิตกกังวลเกี่ยวกับความพิการแต่กำเนิด
บิดา มารดา ผู้ดูแลเด็กขาดความรู้เกี่ยวกับโรคและวิธีการดูแลรักษา
บิดา มารดา ผู้ดูแลเด็กขาดความรู้เกี่ยวกับโรคและวิธีการดูแลรักษา
1) ประเมินความรู้ความเข้าใจของบิดามารดาเรื่องความผิดปกติของผู้ปุวยและการผ่าตัดรักษา
2) แพทย์จะอธิบายการผ่าตัดและผลลัพธ์การรักษา พยาบาลควรให้ความชัดเจนในกรณีที่ ผู้ปุวยไม่เข้าใจหรือเข้าใจผิดในเรื่องต่างๆ
3) สอนการปูอนนมอย่างถูกวิธี
4) แนะน าการดูแลในระยะก่อน หลังผ่าตัด
5) เสริมแรง ให้กำลังใจ
การให้นม/อาหารอย่างถูกวิธี
ขณะให้อาหารจัดท่าศีรษะสูงประมาณ 30-45 องศาการ Feeding เด็กเพดานโหว่จะต้องนั่งศีรษะสูง (จัดท่า 45 degree)เวลาดูดนมจะได้ไม่สาลัก
ใช้ Artificial nipple จุกนมต้องยาว รูออกของน้ านมจะต้องใหญ่กว่าปกติเล็กน้อย เด็กจะได้ดูดสะดวก และไม่ดูด เอาอากาศเข้าไปมากซึ่งจะทาให้แน่นท้อง
ถ้าเด็กดูดไม่ได้ใช้ช้อนปูอน / หลอดหยด •
การพยาบาลหลังผ่าตัด
เสี่ยงต่อการเกิดแผลแยก/ เลือดออก/ ติดเชื้อ
ไม่สุขสบายเนื่องจากแผลผ่าตัด
เสี่ยงต่อการหายใจไม่มีประสิทธิภาพหลังได้รับยาระงบัความรู้สกึ
เสี่ยงต่อการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจจากการส าลัก
เสี่ยงต่อการเกิดแผลแยก/ เลือดออก /ติดเชื้อ
ล้างมือให้สะอาดก่อนและหลงัดูแลผู้ปุวย
ผูกยึดข้อศอกทั้งสองข้าง (elbow restraint) ไม่ให้งอประมาณ 2-6 สัปดาห์
สอนผู้ดูแลเกี่ยวกับการผกูยึดข้อศอก ปูองกันไม่ให้ผู้ปุวยล้วงมือเข้าใน ปาก
งดใส่สายยางดูดเสมหะเขา้ช่องปาก
สังเกตอาการแผลมีเลือดออก การสีสิ่งคัดหลั่ง กลิ่น การอักเสบปวด บวมแดง
หากร้องไห้ ปลอบโยนให้ท าให้สงบโดยเร็ว
ไม่สุขสบายเนื่องจากแผลผ่าตัด
ประเมินความเจ็บปวดโดยสังเกตพฤติกรรม การร้องการเกร็ง กระสับกระส่าย การอนพักหลับ
ประเมินสัญญาณชีพ ชีพจร การหายใจ ความดันโลหิต
ดูแลให้ไดรับยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
ส่งเสริมความสุขสบายเพอื่ลดความปวดโดยการสัมผัส การกอด การ ปลอบโยน
ให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวล
การดูแลหลังผ่าตัดเพดานโหว่ ถึงอายุ 4-5 ปี
งด ดูด เปุา ประมาณ 3 – 4 สัปดาห์ เพื่อปูองกันไม่ให้เด็กใช้ลิ้นดัน flap ท าให้ flap ที่ผ่าตัด มีการแยกได้
ผู้ปุวยควรได้รับการสอนฝึกพูดเสมอและได้รับการฝึกฝนอย่างสม่ าเสมอต่อเนื่อง
อายุประมาณ 2 ปีครึ่ง - 3 ขวบ แพทย์จะพิจารณาผ่าตัดแก้ไข
อายุประมาณ 4-5 ปี ส่งท า Nasendoscope โดย แพทย์ ENTร่วมกับ speech therapist เพื่อประเมินประสิทธิภาพการพูด
ประเด็นคำถามที่ต้องการคำตอบ
ภาวะแทรกซ้อนที่ส าคัญของเด็กปากแหว่งเพดานโหว่ในระยะก่อน ผ่าตัด คือเรื่องใด มีวิธีการป้องกันอย่างไร
การติดเชื้อทางเดินหายใจ /หูชั้นกลาง / การอุดกั้นทางเดิน หายใจจากการสำลัก
การผ่าตัดปากแหว่ง ควรท าเมื่อใด/ การผ่าตัดเพดานโหว่ควรท าเมื่อใด
วางแผนและเตรียมผ่าตัด ตั้งแต่อายุแรกเกิด และจะได้รับการผ่าตัดซ่อมแซมริมฝีปากอายุประมาณ 3-6 เดือน
การผ่าตัดซ่อมแซมเพดาน มักทำเมื่ออายุประมาณ 1 ปี
หลังผ่าตัด การดูแลเพื่อป้องกันแผลแยกท าอย่างไร
ผูกยึดข้อศอกทั้งสองข้าง (elbow restraint) ไม่ให้งอประมาณ 2-6 สัปดาห์ หลังผ่าตัดหรือตามแผนการรักษาของแพทย์ (คลายออกทุก1-2 ชั่วโมง ครั้งละ 10-15 นาที)
สอนผู้ดูแลเกี่ยวกับการผกูยึดข้อศอก ปูองกันไม่ให้ผู้ป่วยล้วงมือเข้าใน ปาก
งดใส่สายยางดูดเสมหะเข้าช่องปาก
ไม่ให้ดูดนม 1 เดือน การให้นมโดยใช้ช้อน หลอดหยด syring ต่อยาง เหลืองนิ่ม และป้อนนมอย่างระมัดระวังหลังผ่าตัดการดูแลเพื่อป้องกันแผลแยกทำอย่างไร
หลังผ่าตัดทารกควรนอนท่าใด
จัดท่านอนหงายหรือตะแคงไปด้านใดด้านหนึ่ง ห้ามนอนคว่ำเพื่อ ป้องกันการเสียดสีกับที่นอนแผลอาจแยกได้
หลังผ่าตัด ทารกจะดูดขวดนมได้เมื่อใด
ไม่ให้ดูดนม 1 เดือน การให้นมโดยใช้ช้อนหลอดหยดsyringต่อยางเหลืองนิ่มและป้อนนมอย่างระมัดระวัง
Anorectal malformation
ความหมาย เป็นความพิการแต่กำเนิดที่ไม่มีรูทวารหนักเปิดให้อุจจาระออกจากร่างกาย ได้(imperforate anus)
อุบัติการณ์ เกิดขึ้นในอัตราส่วน 1 ใน 4000 ของเด็กเกิดมีชีวิตทั้งหมด เด็กชายมากกว่า เด็กหญิง ในเพศชายพบความผิดปกติของลำไส้ตรงกับท่อปัสสาวะ
สาเหตุ ไม่ทราบแน่ชัด
พยาธิสรีรภาพ
ทารกมีอาการท้องผูก /ถ่ายอุจจาระลำบาก/หรือไม่ถ่ายอุจจาระ
ทารกเพศชายมีอาการถ่ายขี้เทาออกทางท่อปัสสาวะ
ทารกเพศหญิง ถ่ายขี้เทาออกทางท่อปัสสาวะหรือทางช่องคลอด
ชนิดของความผิดปกติ
Anal stenosis รูทวารหนักตีบแคบ
Imperforate anal membrane มีเยื่อบางๆปิดกั้นรูทวารหนัก
Anal agenesis รูทวารหนักเปิดผิดที่
Low type
Intermediate type
High type
Rectal atresia ลำไส้ตรงตีบตัน
อาการและอาการแสดง
ไม่มีการถ่ายขี้เทา ภายใน 24 ชั่วโมง "ขี้เทา" (Meconium) มีลักษณะ เหนียวๆ สีเขียวดำ
ไม่พบรูเปิดทางทวารหนักหรือพบเพียงรอยช่องเปิดของทวารหนักเท่านั้น
ไม่มีเสียงเคลื่อนไหวของลำไส้ หากมีการอุดตันของสำไส้เป็นเวลานานกาก อาหารที่ค้างที่Rectumจะเพิ่มมากขึ้นจนถึงลำไส้ส่วนอื่นๆ ได้
กระสับกระส่าย อืดอัด ไม่สบายเนื้อสบายตัว
แน่นท้อง ท้องอืด
ปวดเบ่งอุจจาระ
ตรวจพบมีกากอาหารค้างอยู่ในระบบทางเดินอาหาร
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
การตรวจรังสีวินิจฉัย X ray เพื่อประเมินระดับลำไส้ตรง
ultrasound เพื่อตรวจการไหลเวียนและดูอวัยวะภายใน
CT scan ตรวจกระดูก กล้ามเนื้อ อวัยวะภายวน
MRI ตรวจความผิดปกติร่วมของไขสันหลัง ความผิดปกติร่วมของ ลักษณะกล้ามเนื้อในอุ้งเชงิกราน
การรักษา
เป้าหมายการรักษาพยาบาล เพื่อ ผู้ป่วยสามารถถ่ายอุจจาระได้ มี ความรู้สึกอยากถ่ายอุจจาระ และกลั้นอุจจาระได้
ความผิดปกติ low type มีการรักษา 3 วิธี
การถ่างขยายทวารหนัก โดยใช้ hegar metal dilators
การผ่าตัด anal membrane ออกในรายที่สังเกตเห็นขี้เทาทางทวารหนัก
การผ่าตัดตบแต่งทวารหนัก (anoplasty) เมื่อแผลผ่าตัดติดเรียบร้อยแล้ว ประมาณ 10 วัน ถ่างขยายทวารหนักต่อ
ความผิดปกติ intermediate และ high
การทำทวารหนักเทียมทางหน้าท้อง เพื่อระบายอุจจาระออก (colostomy)
การผ่าตัดตบแต่งทวาร (anoplasty) ภายหลังผ่าตัดประมาณ 2สัปดาห์ แพทย์จะเริ่มถ่าง ขยายรูทวารหนัก(Anal dilatation)
การผ่าตัดปิดทวารเทียมทางหน้าท้อง
การพยาบาลในระยะขยายทวารหนัก
ให้ความรู้บิดามารดาเกี่ยวกับการดำเนินของโรค
สอนการดูแลในการถ่างขยายรูทวารหนัก : ให้ยาแก้ปวดก่อนถ่างขยาย ใช้สาร หล่อลื่น เลือกขนาดเครื่องมือตามแผนการรักษา
แนะนำให้บิดามารดาให้อาหารตามวัยของเด็กที่มีประโยชน์มีกากใยสูง
การพยาบาลการพยาบาลหลังผ่าตัดเปิด colostomy
หลังผ่าตัดสัปดาห์แรก รูเปิดยังไม่หายและการหายของแผลยังไม่ดีพอ ทำความสะอาด ด้วยน้ำเกลือล้างแผล
เด็กที่มีถุงรองรับอุจจาระทางทวารเทียม เลือกขนาดของปากถุง ให้ครอบปิดกระชับ พอดีกับขนาดทวารเทียม ไม่แน่นเกินไป
กรณีมีการรั่วซึมต้องเปลี่ยนถุงใหม่ และสังเกตการรั่วซึมของอุจจาระทุก 2 ชั่วโมง
ทิ้งอุจจาระถ้ามีปริมาณอุจจาระในถุง ¼-1/3 ของถุง
สังเกตการเปลี่ยนแปลงของผิวหนังรอบๆทวารเทียม ถ้ามีการอักเสบ รอยถลอก รายงานแพทย์
แนะนำอาหารย่อยง่ายมีโปรตีนสูง แคลอรีสูง มีกากใยมาก หลีกเลี่ยงอาหารที่ทำให้มี แก๊ส เช่น ถั่ว น้ำอัดลม เป็นต้น
สังเกตและบันทึกอุจจาระ เช่น ท้องผูก ท้องเสีย อุจจาระมีกลิ่นเหม็นผิดปกติ เป็นต้น
แนะนำการมาตรวจตามนัด
การพยาบาลระยะก่อนและหลังผ่าตัดตกแต่งทวารหนัก (anoplasty)
บิดามารดาวิตกกังวลเรื่องความผิดปกติ และต้องได้รับการรักษาเป็นเวลานาน หลายขั้นตอน
เสี่ยงต่อการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ
เสี่ยงต่อการติดเชื้อที่แผลผ่าตัดทวารหนัก
บิดา มารดา ขาดความรู้ความเข้าใจในการดูแลแผลผ่าตัดบริเวณทวารหนัก
ให้คำแนะนำเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ปัญหาที่อาจพบได้หลังผ่าตัด
ทวารหนักตีบจากกลไกการหดรั้งตัวของแผล : การถ่างขยาย การฝึกอุปนิสัย การขับถ่าย การให้ ยาเพื่อปรับสภาพอุจจาระ
ท้องผูก : การสวนล้างร่วมกับการใช้ยาระบาย
กลั้นอุจจาระไม่ได้ : ฝึกฝนการกลั้นอุจจาระเพื่อให้เด็กใช้กล้ามเนื้อที่มีอยู่อย่าง เต็มที่
ประเด็นคำถามที่ต้องการคำตอบ
สังเกตการไม่มีรูทวารหนักทารกหลังคลอดอย่างไร
การตรวจร่างกาย ไม่พบรูเปิดทางทวารหนักหรือพบเพียงรอยช่องเปิดของทวารหนักเท่านั้น
ไม่มีการถ่ายขี้เทา ภายใน 24 ชั่วโมง "ขี้เทา" (Meconium)
การดูแล colostomy ทำอย่างไร
หลังผ่าตัดสัปดาห์แรก รูเปิดยังไม่หายและการหายของแผลยังไม่ดีพอ ทำความสะอาด ด้วยน้ำเกลือล้างแผล
สังเกตการเปลี่ยนแปลงของผิวหนังรอบๆทวารเทียม ถ้ามีการอักเสบ รอยถลอก รายงานแพทย์
ทิ้งอุจจาระถ้ามีปริมาณอุจจาระในถุง ¼-1/3 ของถุง
แนะนำอาหารย่อยง่ายมีโปรตีนสูง แคลอรีสูง มีกากใยมาก หลีกเลี่ยงอาหารที่ทำให้มี แก๊ส เช่น ถั่ว น้ำอัดลม เป็นต้น
สังเกตและบันทึกอุจจาระ เช่น ท้องผูก ท้องเสีย อุจจาระมีกลิ่นเหม็นผิดปกติ เป็นต้น
กรณีมีการรั่วซึมต้องเปลี่ยนถุงใหม่ และสังเกตการรั่วซึมของอุจจาระทุก 2 ชั่วโมง
อายุที่เหมาะสมในการฝึกการขับถ่าย
การฝึกขับถ่ายอุจจาระเมื่ออายุ 18-24 เดือน โดยนั่งกระโถน เช้า เย็น
หลังผ่าตัดทำรูทวารหนัก ปูองกันการตีบแคบได้อย่างไร
ภายหลังผ่าตัดประมาณ 2สัปดาห์ แพทย์จะเริ่มถ่าง ขยายรูทวารหนัก(Anal dilatation)โดยเริ่มจากเบอร์ขนาดเล็กประมาณ 7-10 มิลลิเมตร
วิธีการฝึกการควบคมุกล้ามเนื้อช่วยในการขับถ่ายทา อย่างไร
ให้ฝีกขับถ่ายโดยนั่งกระโถน เช้า เย็น
hypospadia
เด็กที่มีความผิดปกติแต่กำเนิดของรูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ต่่ำกว่าปกติ (hypospadias)
ทำให้เกิด ปัญหาทั้งสภาพ ร่างกายและจิตใจ อัตราการเกิด 1 ใน 300 ในทารกเพศชาย
ผลกระทบ
ปัสสาวะไม่พุ่งเป็นลำไปด้านหน้า แต่กลับไหลไปตามถุง อัณฑะหรือด้านหน้าของต้นขา
องคชาตคดงอเมื่อมีการแข็งตัว ถ้างอมากอาจทำให้ร่วมเพศ ไม่ได้ในอนาคต
องคชาตดูแตกต่างจากปกติ ทำให้เด็กสูญเสียความมั่นใจ
รูเปิดท่อปัสสาวะ
Anterior or distal or mild: รูเปิดท่อปัสสาวะ มาเปิดทางด้านหน้า หรือ บริเวณส่วนปลายของ องคชาต มีรูเปิดต่ำกว่าปกติเพียง เล็กน้อย
Middle or moderate: รูเปิดท่อปัสสาวะอยู่กลางขององคชาต
Posterior or proximal or severe: รูเปิดท่อ ปัสสาวะอยู่ที่ใต้องคชาต บริเวณ penoscrotal, scrotal, perineal เป็นความผิดปกติมาก
การรักษา
เด็กที่มีรูเปิดของท่อปัสสาวะต่ำกว่าปกติ เพียงเล็กน้อยไม่จำเป็นต้อง ได้รับการผ่าตัด
การผ่าตัดแก้ไขรูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ต่ำกว่าปกติ
ผ่าตัดแบบขั้นตอนเดียว (one-stage repair) เป็นการผ่าตัดแก้ไขให้ องคชาต ยืดตรง (orthoplasty) พร้อมกับการตกแต่งท่อปัสสาวะ
ผ่าตัดแบบ 2 ขั้นตอน (two-staged repair)
Orthoplasty ผ่าตัดแก้ไขภาวะองคชาต โค้งงอ (penile curvature) โดยตัดเลาะเนื้อเยื่อที่ดึงรั้ง เพื่อให้องคชาตยืดตรง
Urethroplasty หลังผ่าตัด orthoplasty แล้ว 6 เดือน เพื่อให้เนื้อเยื่อ บริเวณที่ผ่าตัดมาแล้ว อ่อนนุ่ม จึงกลับมาทำผ่าตัดในขั้นตอนของการตกแต่ง
ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
เลือดออก
เกิดการตีบตันของรูเปิดท่อปัสสาวะ/ท่อปัสสาวะบริเวณแผลเย็บที่ สร้างท่อปัสสาวะใหม่
มีรูตรงบริเวณรอยต่อระหว่างรูเปิดท่อปัสสาวะ เก่ากับท่อปัสสาวะที่ สร้างใหม่
องคชาตยังโค้งงอ แก้ไขได้ด้วยการผ่าตัด
เกิดการติดเชื้อ
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
อธิบายขั้นตอนการเตรียมการก่อนผ่าตัด
ประเมินความวิตกกังวล
ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องต่างๆ
ผลของการผ่าตัด
การปวดหลังผ่าตัด การได้ รับยาระงับความรู้สึก
ความรู้สึกเด็กที่ต้องพบกับสิ่ง แปลกใหม่ หลังผ่าตัด
การพยาบาลหลังผ่าตัด
จัดให้เด็กนอนในท่าสบาย ยึดสายที่ต่อจากuretra หรือสาย cystostomy ให้อยู่บริเวณหน้าท้องหรือต้นขา
ประเมินความปวดของเด็กให้ยาแก้ปวดตาม แผนการรักษาของแพทย์ ยา แก้ปวดที่ใช้
เก็บปัสสาวะส่งตรวจเพาะเชื้อตามแผนการ รักษาอย่างเคร่งครัด
ใช้เทคนิคปลอดเชื้อในการทำแผลและการเทปัสสาวะออกจากถุงปัสสาวะ
ประเมินบริเวณสาย cystostomy ไม่ให้เกิด การติดเชื้อ สาย cystostomy จะใส่ไว้ 7 วัน ก่อนนำออกจะปิดสาย cystostomy
ให้บิดามารดา/ผู้ปกครองอยู่ดูแลเด็กอย่าง ใกล้ชิด อธิบายให้เข้าใจถึงสภาพ เด็กที่มีแผลผ่าตัด
คำแนะนำการปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
บิดามารดา/ผู้ปกครองต้องกระตุ้นให้เด็ก ดื่มน้ำมากๆ ทุกวัน
ห้ามเด็กเล่นทราย ขี่จักรยานหรือนั่งคร่อม ของเล่น ว่ายน้ำหรือเล่นกิจกรรม ที่รุนแรง
ดูแลแผลผ่าตัดไม่ให้เปียก ท าความสะอาด ร่างกายเด็กด้วยการเช็ดตัว ห้ามอาบน้าในอ่าง สวมเสื้อผ้าหลวมๆ
แนะนำและสาธิตให้บิดามารดา/ผู้ปกครอง ทราบวิธีการดูแลความสะอาด องคชาตที่คาสายสวนปัสสาวะ
ทำความสะอาดให้เด็กภายหลังการถ่ายอุจจาระ ทุกครั้งเพื่อปูองกันการติดเชื้อ
ประเด็นคำถามที่ต้องการคำตอบ
การรักษา hypospadia โดยการผ่าตัดควรทำเมื่อใด เพราะเหตุใด
เลือดออก
เกิดการตีบตันของรูเปิดท่อปัสสาวะ/ทอ่ปัสสาวะบริเวณแผลเย็บที่ สร้างท่อปัสสาวะใหม่
มีรูตรงบริเวณรอยต่อระหว่างรูเปิดท่อปัสสาวะ เก่ากับท่อปัสสาวะที่ สร้างใหม่ แก้ไขโดยการเย็บปิดซ่อมรูที่เกิดซึ่งมักท าหลังการผ่าตัด ครั้งแรก 6-12 เดือน
. องคชาตยังโค้งงอ แก้ไขได้ด้วยการผ่าตัด
เกิดการติดเชื้อ
ภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดมีอะไรบ้าง
เวลาที่เหมาะในการทำผ่าตัดจะอยู่ในช่วง อายุ 6-18 เดือน แต่ไม่ควรเกิน 2 ปี เนื่องจาก เด็กเริ่ม เรียนรู้เรื่องเพศ หากไม่ได้รับการแก้ไขอาจจะมีผลต่อ การพัฒนาทางด้านจิตใจ
คำแนะนำในการดูแลหลังผ่าตัดเมื่อกลับไปอยู่บ้านทำอย่างไร
ดูแลแผลผ่าตัดไม่ให้เปียก ทำความสะอาด ร่างกายเด็กด้วยการเช็ดตัว ห้ามอาบน้าในอ่าง สวมเสื้อผ้าหลวมๆ
แนะนำและสาธิตให้บิดามารดา/ผู้ปกครอง ทราบวิธีการดูแลความสะอาด องคชาตที่คาสายสวนปัสสาวะ
ทำความสะอาดให้เด็กภายหลังการถ่ายอุจจาระ ทุกครั้งเพื่อปูองกันการติดเชื้อ
ห้ามเด็กเล่นทราย ขี่จักรยานหรือนั่งคร่อม ของเล่น ว่ายน้ำหรือเล่นกิจกรรม ที่รุนแรง
บิดามารดา/ผู้ปกครองต้องกระตุ้นให้เด็ก ดื่มน้ำมากๆ ทุกวัน
Omphalocele/ Gastroschisis
Omphalocele ผนังหน้าท้องพัฒนาไม่สมบูรณ์ ทำให้ช่องท้องไม่ปิด
gastroschisis ผนังช่องท้องพัฒนาสมบูรณ์ ไส้เลื่อนสะดือแตกตอน ทารกอยู่ในครรภ์ ลำไส้
ได้ประมาณ 1:4,000 ของการคลอด และมีอุบัติการเพิ่มขึ้นใน มารดาที่มีอายุมาก
ลำไส้จะออกมาอยู่ในสายสะดือได้เป็นปกติในช่วงอายุครรภ์ 8-12 สัปดาห
การวินิจฉัย/อาการ/อาการแสดง
ตรวจultrasound อายุครรภ์ 10 สัปดาห์ สามารถวินิจฉัยและแยกทั้งสองภาวะออกได้ สามารถตรวจพบถุง membrane
หลังคลอดพบผนังหน้าท้องซึ่งมักจะอยู่ขวาต่อสายสะดือเป็นช่องโหว่ มีอวัยวะภายใน ออกมา
เด็กอาจตัวเล็ก คลอดก่อนกำหนด
การที่ไม่มีผนังหน้าท้องนี้ ทำให้ลำไส้ปนเปื้อนความสกปรก จากภายนอกทำให้มี อาการติดเชื้อ
อุณหภูมิกายต่ำ เด็กตัวเย็น จากน้ำระเหยจากผิวของลำไส้ ทำให้และสูญเสียน้ำ
อาจพบความผิดปกติอื่นร่วมด้วยส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องของลำไส้
การรักษา
จุดประสงค์ เพื่อปิดผนังหน้าท้อง ลดภาวะแทรกซ้อน ให้ทารกหายเร็ว ที่สุด
สำหรับ omphalocele ขนาดใหญ่ไม่มากอาจใช้แผ่น silastic ปิดทับ ถุง omphalocele พันด้วยผ้ายืด elastric wrap ทำให้อวัยวะนอก ช่องท้องถูกดันกลับเข้าช่องท้องทีละน้อย
การรักษาโดยการผ่าตัด
การผ่าตัดปิดผนังหน้าท้องตั้งแต่ระยะแรก (primary closure) เป็นการปิดหน้า ท้องตั้งแต่ระยะแรกโดยดันลำไส้กลับเข้าไปในช่องท้อง
การผ่าตัดปิดหน้าท้องเป็นขั้นตอน (staged closure) ในกรณีดันลำไส้กลับเข้า ในช่องท้องทำให้ผนังหน้าท้องตึง ไม่สามารถเย็บปิด fascia ได้
การพยาบาลระยะก่อนผ่าตัด
keep warm โดยอาจเป็น radiant warmer หรือไว้ใน incubator
ระวังการ contaminate โดยต้องใช้ sterile technique
พยายามปั้นประคองกระจุกลำไส้ให้ตั้ง โดยการใช้ผ้า gauze ม้วนพันประคองไว้ไม่ให้ล้ม พับ
ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษาปริมาณที่ให้โดยประเมินว่ามีสูญเสียน้ำในระดับใดรวมกับ maintainance
ดูแลให้ systemic antibiotics ตามแผนการรักษา
การพยาบาลในขณะรอการผ่าตัดเย็บปิดผนังหน้าท้อง
keep warm โดยอาจเป็น radiant warmer หรือไว้ใน incubator
ประคองลำไส้ไม่ให้พลัดตกลงมาข้างๆตัวได้ (เสริมกับชั้นของ roll gauze)
นอนตะแคงข้างเพื่อลดโอกาสที่เลือดจะมาเลี้ยงลำไส้ไม่สะดวก •
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำเนื่องจากมีการสญูเสียน้ำจาก ลำไส้ที่ไม่มีผนังหุ้ม
การรักษาในระยะหลังผ่าตัด
ดูแลเด็กที่ได้รับการรักษาโดยใช้เครื่องช่วยหายใจประมาณ 24-48 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับสารน้ำสารอาหารตามแผนการรักษาเนื่องจากลำไส้ของเด็กที่เป็น gastroschisis นี้มีการอักเสบ บวม และเกาะติดกันเป็นกระจุก
ติดตามการทำงานของล ำไส้ ฟัง bowl sound ถ้า 3 สัปดาห์แล้ว bowel function ยังไม่ กลับมาแพทย์จะประเมินหาสาเหต
สังเกตอาการระวังการเกิดAbdominal compartment syndrome
การดูแลเพื่อลดแรงดันในช่องท้อง
ให้ยาระงับปวดให้เหมาะสม
จัดท่าผู้ปุวยนอนราบ ศีรษะสูงไม่เกิน 30 องศา
ใส่สายสวนกระเพาะอาหารและสำไส้ใหญ่
ได้รับยาขับปัสสาวะ/ยากระตุ้นการทำงานของลำไส้
ฟอกไตเพื่อดึงน้ำออกจากร่างกาย
การใส่สายระบายในช่องท้อง(Percutaneous catheter drainage) ถ้าอาการยังไม่ดีขึ้น
ประเด็นคำถามที่ตอ้งการคำตอบ
Gastroschisis กับ Omphalocele แตกต่างกันอย่างไร
Omphalocele ผนังหน้าท้องพัฒนาไม่สมบูรณ์
gastroschisis ผนังช่องท้องพัฒนาสมบูรณ์
เด็กดูแลในระยะดันลำไส้กลับในช่องท้องเด็กต้องจัดท่านอนอย่างไร เพราะเหตุใด
นอนตะแคงข้างเพื่อลดโอกาสที่เลือดจะมาเลี้ยงลำไส้ไม่สะดวก
การฟัง bowl sound หลังผ่าตัดปิดผนังหน้าท้องเด็ก มีวัตถุประสงค์เพื่ออะไร
ติดตามการทำงานของลำไส้
ภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดปิดผนังหน้าท้องเด็ก ต้องระวังภาวะใด มีอาการและ อาการแสดงอย่างไร
การเกิดAbdominal compartment syndrome
อาการ หายใจลำบาก, ความดัน โลหิตต่ำลง ไตวาย และ อื่นๆ ซึ่งสุดท้ายอาจจะส่งผลให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ ถ้าไม่แก้ไข
Esophageal stenosis
อาการและอาการแสดงของโรค
ทารกแรกเกิด น้ำลายไหลมาก อาเจียน ไอ สำลัก เอาอาหารและเมือกเข้าสู่ทางเดินหายใจ
อาจพบอากาศใน กระเพาะอาหาร
ผู้ป่วยอาจตายเนื่องจากขาดอาหาร น้ำ เกลือ แร่ และการสำลัก
การรักษา
ระยะแรก Gastrostomy
ระยะสอง Thoracotomy and division of the fistula with Esophageal anastomosis
การพยาบาลก่อนผ่าตัดแก้ไขหลอดอาหาร
อาจเกิดภาวะปอดอักเสบหายใจลำบากหรือหยุดหายใจเนื่องจากสำลัก น้ำลายหรือน้ำย่อยเข้าหลอดลม
จัดท่านอนทเี่หมาะสม
พลกิตะแคงตัวบ่อยๆ
0n NG tube ต่อ Continuous suction
ให้ออกซิเจนกรณีมีภาวะพร่องออกซิเจน
อาจได้รับสารน้ำและสารอาหารไม่เพยีงพอเนื่องจากไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้
ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผน การรักษา
ดูแลให้สารอาหาร นม น้ำทาง Gastrostomy tube
การพยาบาลหลงัผ่าตัด
อาจเกิดภาวะปอดแฟบจากการอุดตันของท่อระบายทรวงอก
จัดท่านอนศีรษะสูง
ตรวจสอบการทา งานของ ICD
ระวงัสายหัก พับงอ / นวดคลึงสายบ่อยๆ
บันทึกลกัษณะ สี จำนวนของ discharge
อาจเกิดการติดเชื้อบริเวณแผลผ่าตดัและแผล Gastrostomy
ล้างมือก่อนและหลังให้การพยาบาล
ทำแผลอย่างน้อยวันละ 2 คร้ัง
สังเกตการติดเชื้อ
ดูแลให้ยา Antibiotic ตามแผนการรักษา
ประเด็นคำถามที่ต้องการคำตอบ
อาการอาการแสดงที่บ่งชว้างหลอดอาหารตีบคืออะไร
ทารกแรกเกิด น้ำลายไหลมาก อาเจียน ไอ สำลัก
อาการอาการแสดงที่บ่งชว้างหลอดอาหารมีรูรั่วคอือะไร
เอาอาหารและเมือกเข้าสู่ทางเดินหายใจ อาจพบอากาศใน กระเพาะอาหาร
การให้นม TE fistula ท าอย่างไร
ดูแลให้สารอาหาร นม น้ำทาง Gastrostomy tube
การดูแล Gastrostomy ท าอย่างไร
ล้างมือก่อนและหลงัให้การพยาบาล
ทำแผลอย่างน้อยวนัละ 2 ครั้ง • สังเกตการณ์ติดเชื้อ
ดูแลให้ยา Antibiotic ตามแผนการรักษา
วัตถุประสงค์
1.บอกสาเหตุ/ปัจจัยที่ทำให้ทารกมีความพิการแต่กำเนิดได้
อธิบายอาการ อาการแสดง / การวินิจฉัย ทารกที่เป็นCleft-lip , Cleft-palate TE fistula Imperforate anus Gastroschisis Omphalocele
อธิบายวิธีการรักษา Cleft-lip Cleft-palate TE fistula Imperforate anus Gastroschisis Omphalocele Epispadia Hypospadia ได้
ระบุปัญหาและวางแผนการพยาบาลเด็ก Cleft-lip , Cleft-palate TE fistula Imperforate anus Gastroschisis Omphalocele Epispadia hypospadia ได้
ความพิการแต่กำเนิด
major anomalies คือความผิดปกติที่ท าให้การท างานของอวัยวะนั้นเสียไปพบได้ประมาณ ร้อยละ 2-3 ของทารกเกิดมีชีพ
minoranomalies คือความผิดปกติที่ไม่มีผลให้การท างานของอวัยวะเสียไปพบได้น้อยกว่าร้อยละ 5 ของประชากร
การจ าแนกความพิการแต่ก าเนิดตามกลไกการเกิด
Malformation คือลักษณะของอวัยวะที่ผิดรูปร่างไป เกิดจาก
กระบวนการเจริญพัฒนาภายในที่ผิดปกติ
Deformation เกิดจากการที่มีแรงกระท าจากภายนอกท าให้อวัยวะ
ผิดรูปไปในระหว่างการเจริญพัฒนาของอวัยวะนั้น
Disruption คือ ภาวะที่โครงสร้างของอวัยวะหรือเนื้อเยื่อผิดปกติจาก
สาเหตุภายนอกรบกวนกระบวนการ เจริญพัฒนาอวัยวะที่ไม่ใช่พันธุกรรม
Dysplasia เป็นความผิดปกติในระดับเซลล์ของเนื้อเยื่อพบในทุกส่วนของร่างกาย
สาเหตุของความพิการแต่ก าเนิด
พันธุกรรม ในกรณีที่บิดามารดา ปูุย่า ตายาย ในครอบครัวเป็นโรค
ความพิการแต่ก าเนิด บุตรและหลานมีโอกาสเกิดมาพิการได้
ปัจจัยจากสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะจากมารดาในระหว่างตั้งครรภ์
โรคติดเชื้อเช่น โรคหัดเยอรมันขณะตั้งครรภ์ได้ไม่เกิน16 สัปดาห์
ขาดอาหาร ขาดวิตามิน การทดลองในสัตว์ที่ท าให้ขาดอาหาร ขาดวิตามินในช่วงเวลาที่เหมาะสมจะท าให้เกิดความพิการ
มารดากินยาหรือเสพสารเสพติด เช่น ยาแก้อาเจียน กลุ่ม ยาดองเหล้า
มารดาได้รับสารเคมีจากสิ่งแวดล้อม เช่น สารปรอทนอกจากจะทำให้
เกิดอาการแพ้พิษสารปรอท
รังสีเอ๊กซ์ หรือรังสีแกมม่า รวมทั้งสารกัมมันตรังสีทางการแพทย์ ที่ใช้กันมากในการวินิจฉัยและการรักษา
ความผิดปกติของการตั้งครรภ์ หรือ ภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์
นางสาวจิราวรรณ บุญเต็ม เลขที่23 รุ่น 36/1 612001024