Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่6 การพยาบาลเด็กที่มีความพิการแต่กำเนิด - Coggle Diagram
บทที่6 การพยาบาลเด็กที่มีความพิการแต่กำเนิด
ความพิการแต่กำเนิด
พิการทางโครงสร้างของร่างกาย
ความพิการของการทำงานมนหน้าที่และภาวะร่างกาย
วันที่3มีนาคมของทุกปี คือ วันทารกและเด็กพิการแต่กำเนิดโลก
แบ่งเป็น
Major anomalies
ความผิดปกติที่ทหำให้เกิดการทำงานของอวัยวะนั้นเสียไป
Minoranomalies ความผิดปกตืที่ไม่ทำให้อวัยวะนั้นเสียไป
การจำเเนกความพิการเเต่กำเนิดตามกลไกลการเกิด
Malformation ลักษณะของอวัยวะที่ผิดรูปร่างเกิดจากกระบวนการเจริญพัฒนาภายในที่ผิดปกติ
Disruption ภาวะที่โครงสร้างของอวัยวะ เนื้อเยื่อที่ผิดปกติสาเหตุจากภายนอกรบกวนกระบวนการ
Deformation เกิดจากการที่มีเเรงกระทำจากภายนอกทำมีการผิดรูปไป
Dysplasia เป็นความผิดปกติในระดับเซลล์ของเนื้อเยื่อพบในทุกส่วนของร่างกาย
สาเหตุของความพิการแต่กำเนิด
พันธุกรรม
ปัจจัยสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะขณะตั้งครรถ์
ภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์
ได้รับสารเคมีขณะตั้งครรภ์
รังสีต่างๆ รวมทั้งกัมมันตรังสี
มารดากินยาหรือยาเสพติด
ขาดอาหาร ขาดวิตามิน
โรคติดเชื้อ
มารดามีอายุมากเกิน
Cleft-lip,cleft- palate ปากแหว่ง-เพดานโหว่
ความหมาย
ปากเเหว่ง
มีความผิดปกติบริเวณริมฝีปาปก เพดานส่วนหน้าแยกออกจากกัน
เพดานโหว่
มีความผิดปกคิบริเวณเพดานด้านหลังแยกออกออกจากกัน
อุบัติการณ์
การวินิจฉัย
สามารถตรวจUltrasoundพบได้เมื่ออายุ13-14สัปดาห์
ซักประวัติหาสาเหตุทางพันธุ์กรรม
การตรวจร่างกาย โดยการสอดนิ้วตรวจเพดานปากภายใน
อาการและอาการแสดง
การดูดกลืนผิดปกติ ท้องอืดง่าย
สำลักง่ายเพราะไม่มีเพดานรองรับ พูดไม่ชัด
หายใจลำบาก
อาจติดเชื้อในหูชั้นกลางทำให้การได้ยินผิดปกติ
การรักษา
การรักษาปากแหว่ง
Triangular Flap การผ่าตัดปากแหว่งทางด้านซ้าย
Rotation Advancement Method การผ่าตัดปากแหว่างทางด้านขวา
Stright Line Repair ผ่าตัดปากแหว่งทั้งสองข้าง
การรักษาเพดานโหว่
Palatoplasty
palatorrhaphy
ประเด็นคำถามที่ต้องการคำตอบ
1.ภาวะเเทรกซ้อนที่สำคัญของเด็กปากแหว่ง เพดานโหว่ในระยะก่อนการผ่าตัด คือเรื่องใด มีวิธีการป้องกันอย่างไร
เสี่ยงต่อการติดเชื้อทางเดินหายใจ หูชั้นกลาง การอุดกั้นทางเดินหายใจจากการสำลัก
เตรียมลูกยางแดงสำหรับดูดเสมหะไว้ข้างๆเตียง
สังเกตอาการ ไข้ ไอ หายใจผิดปกติ
รักษาความสะอาดช่องปาก
ชั่งน้ำหนักทารกวันละครั้ง
ดูเเลให้นมอย่างถูกวิธี
ถ้าน้ำหนักไม่ขึ้นได้รับนมไม่เพียงพอ รายงานเเพทย์เพื่อพิจารณาให้อาหารทางสาย
2.การผ่าตัดปากเเหว่ง ควนทำเมื่อใด/การผ่าตัดเพดานโหว่ควรทำเมื่อใด
การผ่าตัดปากแหว่ง อาจทำได้ใน48ชั่วโมงหลังคลอด หรืออายุอย่างน้อย8-12สัปดาห์
การผ่าตัดเพดานโหว่ควรทำเมื่ออายุ6-18เดิอน
3.หลังการผ่าตัด การดูเเลเพื่อป้องกันแผลแยก ทำอย่างไร
สอนผู้ดูเเลเกี่ยวกับการผูกยึด
งอสายยางดูดเสมหะเข้าช่องปาก
ไม่ให้ดูดนม1เดือนให้นมโดนช้อน
ผูกยึกข้อศอกทั้งสองข้างไม่ให้งออย่างน้อย2-6สัปดาห์ คลายทุก1-21ชั้วโมง ครั้งละ10-15นาที
4.หลังผ่าตัดทารกควนนอนท่าใด
จัดท่ากึ่งนั่งกึ่งนอนหรือตะเเคงหน้า
5.หลังผ่าตัดทารกจะดูดขวดนมได้เมื่อไหร่
ดูดได้เมื่อครบหนึ่งเดือนไปแล้ว
Esophageal stenosis/Fitula/atresia
หลอดอาหาร ตีบ รั่ว ตัน
อาการและอาการแสดงของโรค
ส่วนใหญ่จะมีโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด
ความผิดปกติของลำไส้เล็ก ไส้ตรง และรูทวารร่วมด้วย
ทารกเเรกเกิด น้ำลายไหลมาก อาเจียน ไอ สำลัก
การรักษา
ระยะแรก
Gastrostomy
ระยะที่สอง
Thracotomy and division of the fistura with Esophageal anastomosis Esophagogram Try oral feeding off Gastrostomy tube
การพยาบาลก่อนการผ่าตัดแก้ไขหลอดอาหาร
อาจเกิดภาวะปิดอักเสบหายใจลำบากหรือหยุดหายใจเนื่องจากสำลักน้ำลายหรือน้ำย่อยเข้าหลอดลม
ให้ออกซิเจน ให้ยาปฎิชีวนะ
on NG tubeต่อ Continuous suction
จัดท่านอนที่เหมาะสม พลิกตะเเควงตัวบอ่ยๆ
อาจได้รับสารอาหารและสารน้ำไม่เพียงพอเนื่องจากไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้
ดูเเลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ดูเเลให้สารอาหาร นม น้ำ ทางGastrostomy tube
การพยาบาลหลังการผ่าตัด
อาจเกิดภาวะปอดเเฟบจาการอุดตันของท่อระบายทรวงอก
ระวังสายพับ หัก งอ นวดคลึงสายบ่อยๆ
จัดท่านอนศีรษะสูง ตรวจสอบการทำงานของ ICD
บันทึกลักษณะ สี จำนวน discharge
อาจเกิดการติดเชื้อบริเวณเเผลผ่าตัดเเละแผลGastrostomy
ล้างมือก่อนและหลังให้การพยาบาล
ทำแผลอย่างน้อยวันละ2ครั้ง
สังเกตการติดเชื้อ ดูเเลให้ยาแอนติไบโอติก
ประเด็นคำถามที่ต้องการคำตอบ
1.อาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ว่าหลอดอาหารตีบคืออะไร
ทารกเเรกเกิด น้ำลายไหลมาก อาเจียน ไอ สำลัก
2.อาการแสดงที่บ่งชี้ว่าหลอดอาหารมีรูรั่วคืออะไร
มีอาการปวดทันทีทันใด เเละรุนแรง อ่อนเพลีย อาเจียนเป็นเลือด
3.การให้นม TE fistura ทำอย่างไร
ล้างมือให้สะอาด
เริ่มต้นให้อาหารโดยการปิดสายให้อาหารด้วยตัวหนีบ
จัดท่านอนให้ศีรษะ45องศาอย่างน้อย 30-60 นาที
ป้องกันอาหารเก่าไหลย้อนกลับ
หลังจากนั้นเทอาหารเหลวใส่กระบอกโดยเอาแกนในออกในปริมาตรที่ต้องการ ปลดตัวหนีบ อาหารจะไหลเข้าไปในกระเพาะอาหาร
4.การดูเเล Gastrostomy ทำอย่างไร
1.ทำความสะอาดสายให้อาหารด้านนอกและข้อต่อด้วยสบู่และน้ำสะอาด ส่วนสายสวนชนิดระดับผิวหนังใช้ไม้พันสำลีชุบน้ำสะอาดเช็ด
2.ไม่ควรหักหรือพับงอสายให้อาหารนานเกินไป อาจทำให้สายแตกหักหรือพับงอ ทำให้เกิดการอุดตันได้
3.กรณีใช้สายให้อาหารทางหน้าท้องชนิดลูกโป่ง ควรหมั่นตรวจสอบว่าตำแหน่งของสายที่ระดับผิวหนังอยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้อง เนื่องจากสายอาจเลื่อนเข้าไปในกระเพาะมากเกินไป
4.ต้องดูแลให้ระดับบ่าท่อที่อยู่ทางหน้าท้องอยู่ที่ขีด 6 เซนติเมตร และควรหมุนตัวสายทุก 2 - 3 วัน เพื่อป้องกันการฝังตัวของหัวเปิดในช่องกระเพาะอาหาร
5.ไม่ควรใช้อาหารที่มีความร้อนเพราะจะทำให้อายุการใช้งานน้อยลง ซึ่งปกติจะใช้ได้นาน 6 - 8 เดือน
Anorectal malformation
เป็นความพิการแต่กำเนิดที่ไม่มีรูทวารหนัก หรือมีแต่อยู่ผิดตำแหน่ง
พยาธิสภาพ
ทารกมีอาการท้องผูก ถ่ายอุจจาระลำบาก
เพศชายอาจมีขี้เถ้าเทาออกทางปัสสาวะ
ชนิดของความผิดปกติ
รูทวารตีบแคบ
มีเยื่อบางๆปิดกั้นรูทวาร
รูทวารหนักเปิดผิดที่
ลำไส้ตรงตียตัน
อาการและอาการแสดง
ไม่มีขี้เทาภายใน24ชั่วโมง ไม่พบรูเปิดทางทวารหนัก
ไม่มีเสียงเคลื่อนไหวของลำไส้
กระสับกระส่าย อืดอัด
ปวดเบ่งอุจจาระ ตรวจพบกากอาหารตกค้างในระบบทางเดินอาหาร
การวินิจฉัย
X-ray
CT scan
MRI
การรักษา
Low type
การถ่างขยายทวารหนัก
การผ่าตัด anal membrane
การผ่าตัดตกแต่งทวารหนัก
Intermediate เเละ High
การทำทวารหนักเทียมทางหน้าท้อง
การผ่าตัดตกเเต่งทวาร
การผ่าตัดปิดทวารเทียมทางหน้าท้อง
การพยาบาลในระยะขยายทวารหนัก
ให้ความรู้แก่บิดามารดาเกี่ยวกับการดำเนอนของโรค
สอนการดูเเลในการถ่างขยายรูทวารหนัก
เเนะนำอาหาร
การดูเเล การพยาบาลหลังผ่าตัด Colostomy
สัปดาห์แรกทำความสะอาด่วยน้ำเกลือล้างแผล เมื่อแผลหายดีทำความสะอาดด้วยน้ะสะอาด
ถ้ารั่วซึมต้องเปลี่ยนถุงใหม่ สังเกตการรั่วทุก2ชั่โมง
สังเกตการเปลี่ยนแปลงของผิวหนังโดยรอบ
สังเกตการเปลี่ยนแปลงของผิวหนังโดยรอบ
การพยาบาลก่อน หลัง ผ่าตัด Anoplasty
หลังผ่าตัด3-4วันหลังถอดสายสวนปัสสาวะ ให้เเช่ก้นด้วยน้ำอุ่นกระตุ้นการไหลเวียน
ดูเเลความสะอาดแผล เฝ้าติดตามอาการติดเชื้อ
ทำความสะอาดบริเวณเเผลผ่าตัดรูทวาร 8-10วันตามแผนการรักษา
ให้คำเเนะนำเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ถ่างขยายรูทวารอยู่สม่ำเสมอ
สอนทำความสะอาด
ให้ความรู้ป้องกันท้องผูก
ฝึกขับถ่าย ฝึกกล้ามเนื้อช่วยขับถ่าย มาตรวจตามนัด
ประเด็นคำถามที่ต้องการคำตอบ
อายุที่เหมาสมในการฝึกการขับถ่าย
อายุ18-24เดือน
หลังผ่าตัดรูทวารหนัก ป้องกันกันการตีบแคบได้อย่างไร
ถ่างขยายรูทวารสม่ำเสมอ
การดูเเลcolostomy ทำอย่างไร
สัปดาห์แรกทำความสะอาด่วยน้ำเกลือล้างแผล เมื่อแผลหายดีทำความสะอาดด้วยน้ำสะอาด
ถ้ารั่วซึมต้องเปลี่ยนถุงใหม่ สังเกตการรั่วทุก2ชั่โมง
สังเกตการเปลี่ยนแปลงของผิวหนังโดยรอบ
สังเกตการเปลี่ยนแปลงของผิวหนังโดยรอบ
วิธีฝึกการควบคุมกล้ามเนื้อช่วยในการขับถ่ายทำอย่างไร
ฝึกให้เด็กหนีบลูกบอลลูน ออกกำลังกายโดยการวิ่ง
สังเกตการไม่มีรูทวารหนักหลังคลอดได้อย่างไร
ขี้เถ้าเทาออกทางท่อปัสสาวะ
ถ่ายลำบาก ท้องผูก
ความผิดปกติของผนังหน้าท้อง
Omphalocele/Gastroschisis
Omphalocele
พนังหน้าท้องพัฒนาไม่สมบูรณ์ทำให้ท้องไม่ปิดมีเยื่อบางๆ หุ้มอวัยวะที่ออกนอกช่องท้อง
Gastroschisis
ผนังช่องท้องพัฒนาสมบูรณ์ ไส้เลื่อน สะดือเเตกขณะทารกอยู่ในครรภ์ สายสะดืไม่มีสิ่งห่อหุ่ม
การวินิจฉัย/อาการ/อาการแสดง
ตรวจUltrasound อายุครรภ์ 10 สัปดาห์ สามารถวินิจฉัยแยกทั้งสองภาวะออกได้สามารถตรวจพบถุง Membrane
เด็กอาจตัวเล็ก คลอดก่อนกำหนด
การไม่มีผนังหน้าท้อง ทำให้ลำไส้ปนเปื้อน มีการติดเชื้อ
อุณหภูมิต่ำ ตัวเย็น สูญเสียน้ำ อสจพบความผิดปกติที่อื่นร่วมด้วยส่วนใหญ่จะเป็นเกี่ยวกับลำไส้
การรักษา
เพื่อปิดผนังหน้าท้อง ลดภาวะแทรกซ้อนให้ทารกหายเร็วมากที่สุด
สำหรับOmphalocele ขนาดใหญ่ไม่มากอาจใช้ SilasticปิดทับถุงOmphalocele พันด้วย elastric wrap ทำให้อวัยวะนอกช่องทท้องถูกดันกลับเข้าช่องท้องทีละน้อย สามารถปิดผนังหน้าท้องภายใร2อาทิตย์
การรักษาโดยการผ่าตัด
การผ่าตัดปิดหน้าท้องตั้งเเต่ระยะเเรก Primary closure
การผ่าตัดปิดหน้าท้องเป็นขั้นตอน staged closure
การพยาบาล
การพยาบาลระยะก่อนผ่าตัด
ใช้เทคนิคปราศจากเชื้อ
ดูเเลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
keep warm
ดูเเลให้นาฆ่าเชื้อตามแผนการรักษา
การพยาบาลในขณะรอการผ่าตัดเย็บปิดผนังหน้าท้อง
ประคองลำไส้ไม่ให้พับตกลงมาข้างตัว
นอนตะเเคงเพื่อลดโอกาสที่เลือดจะมาเลี้ยงลำไส้ไม่สะดวก ดูเเลให้ได้รับสารน้ำ างหลอดเลือดดำ
warwerหรือไว้ใน incubator
การดูเเลในระยะหลังผ่าตัด
ดูเเลให้ได้รับสารน้ำและสารอาหารตามแผนการรักษา
ติดตามการทำงานของลำไส้
ดูแลให้เด็กได้รับเครื่องช่วยหายใจ
สังเกตอาการแทรกซ้อน abdominal compartment syndrome
ประเด็นคำถามที่ต้องการคำตอบ
2.การดูเเลในระยะดันลำไส้กลับไปในช่องท้องเด็กต้องจัดท่านอนอย่างไร เพราะเหตุใด
นอนตะเเคงข้างเพื่อลดโอกาสที่เลือดจะมาเลี้ยงลำไส้ไม่สะดวก
3.การฟังการเคลื่อนไหวของลำไส้หลังผ่าตัดปิดหน้าท้องของเด็ก มีวัตถุประสงค์อย่างไร
ติดตามการทำงานของลำไส้
1.GastroshisกับOmphaloceleแตกต่างกันอย่างไร
Gastroshisisคือไส้เลื่อนเเละสะดือแตกตอนอยู่ในครรภ์ สานสะดือไม่มีสิ่งห่อหุ้ม ส่วนOmphalocele คือช่องท้องไม่ปิดมีเยื่อบางๆหุ่มอยู่นอกช่องท้อง
4.ภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดปิดหน้าท้องเด็ก ต้องระวังภาวะใด มีอาการเเละอาการแสดงอย่างใด
Compartment syndrome
จัดท่านอนราบ ศีรษะสูงไม่เกิน30องศา
ใสสายนสวนกระเพาะอาหารเเละลำไส้
ให้ยาระงับปวด
ดูเเลให้ได้รับยาขับปัสสาวะ/ยากระตุ้นการทำงานของลำไส้
ฟอกไตเพื่อตึงน้ำออกจากร่างกาย
ใส่สายระบายในช่องท้อง
รูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ต่ำกว่าปกติ Hypospadias
เด็กที่มีความผิดปกตอเเต่กำเนิดของรูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ต่ำกว่าปกติhypospadias รูเปิดปัสสาวะอยู่ด้านบน epispadias เป็นความผิดปกติที่รูเปิด ไปเปิดด้านบนขององคชาตอาจพบความผิดปกติอย่างอื่นร่วม
ผลกระทบ
ปัสสาวะไม่พุ่งเป็นลำไปด้านหน้า แต่ไหลกลับไหลไปตามถุงอัณฑะด้านหน้าของต้นขา
องคชาตคดงอเมื่อการเเข็งตัว
เด็กสูญเสียความมั่นใจ
Hypospadias การแบ่งความผิดปกติของรูเปิดท่อปัสสาวะ
Anterior or distal or mild ท่อเปิดปัสสาวะมาเปิดทางด้านหน้า หรือ บริเวณส่วนปลายขององคชาต มีรูต่ำกว่าปกติ
Middle or moderate รูเปิดท่อปัสสาวะอยู่กลางขององคชาต
Poaterior or proximal or severe รูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ใต่องคชาต
การรักษา
เด็กที่มีรูเปิดของท่อปัสสาวะต่ำกว่าปกติเพียงเล็กน้อยไม่จำเป็นต้องได้รับการผ่าตัด
การผ่าตัดในกรณี
เด็กที่มีรูเปิดของท่อปัสสาวะต่ำกว่าปกติเล็กน้อยแต่เวล่ถ่ายปัสสาวะไม่พุ่งเป็นลำ
1.ผ่าตัดเเบบขั้นตอนเดียว เป็นการผ่าตัดให้องคชาตยืดตรงพร้อมตกเเต่งท่อปัสสาวะ
2.ผ่าตัดเเบบ2ขั้นตอน
Orthoplasty ผ่าตัดเเก้ไของคชาตโค้งงอ
Urethroplasty หลังผ่าตัดOrthoplasty 6เดือน เพื่อให้เนื้อเยื่ออ่อนนุ่ม ตัดุ่แต่งท่อปัสสาวะโดยการทำรูเปิดท่อปัสสาวะให้อยู่ปลายองคชาต
เด็กที่มีความผิดปกติมากต้องรักษาโดยการผ่าตัดตกแต่งท่อปัสสาวะ
ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
เกิดการตีบตันของรูเปิดท่อปัสสาวะ
มีรูตรงบริเวณรอยต่อระหว่ารูเปิดท่อปัสสาวะท่ากับท่อปัสสาวะที่สร้างใหม่
เลือดออก
องคชาตยังโค้งงอ แก้ไขด้วนการผ่าตัด
เกิดการติดเชื้อ
การพยาบาล
การพยาบาลก่อนการผ่าตัด
ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องต่างๆ เช่น ผลของการผ่าตัด การปวดหลังผ่าตัด
ประเมินความวิตกกังวล
อธิบายขั้นตอนการเตรียมการผ่าตัด
การพยาบาลหลังการผ่าตัด
เก็บปัสสาวะส่งตรวจเพาะเชื้อตามแผนการรักษา
ประเมินสายต่างๆไม่ให้เกิดการติดเชื้อ
ประเมินความปวด ให้ยาตามแผนการักษา
ใช้เทคนิคปลอดเชื้อ
จัดท่านอนในทาสบาย ยึดสายจากuretra ให้อยู่บริเวณหน้าท้องหรือต้นขา
ให้ผู้ปกครองดูเเลอย่างใกล้ชิด
คำเเนะนำเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ดูแลแผลไม่ให้เปียก ทำความสะอาดร่างกายด้วยการเช็ดตัว
เเนะนำให้ผู้ปกครองรู้วิธีดูเเลคำความสะอาดองคชาตที่คาสายสวนปัสสาวะ
ห้ามเด็กเล่นทราย ขี่จักรยาน หรือกิจกรรมที่รุนแรง
ทำความสะอาดให้เด็กภายหลังการถ่ายอุจจาระทุกครั้งเพื่อกันการติดเชื้อ
กระตุ้นให้เด็กดื่มน้ำมากๆ
หลังเอาสายสวนออกให้สังเกตลักษณะปัสสาวะและการพุ่งเป็นลำ
อธิบายให้เข้าใจเกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อน
อธิบายให้เข้าใจเกี่ยวกับมาตามนัด
คำถามที่ต้องการคำตอบ
ภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดมีอะไรบ้าง
มีเลือดออก เกิดการตีบตันของรูเปิดท่อปัสสาวะ มีรูตรงบริเวณรอยต่อระหว่างรูเปิดท่อปัสสาวะเก่ากับท่อปัสสาวะที่สร้างใหม่ องคชาตโค้งงอเกิดการติดเชื้อ
คำเเนะนำในการดูเเลหลังผ่าตัดเมื่อกลับไปอยู่บ้านทำอย่างไร
ห้ามเด็กเล่นทราย ขี่จักรยาน หรือกิจกรรมที่รุนแรง
ดูเเลแผลไม่ให้เปียกน้ำ ทำความสะอาดร่างกายด้วยการเช็ดตัว
เเนะนำให้เด็กดื่มน้ำมากๆ
เเนะนำการทำความสะอาดองคชาตและสายสวนปัสสาวะ
การรักษา Hypoapadia โดยการผ่าตัดควรทำเมื่อใดเพราะเหตุใด
ทำเมื่อเด็กอยู่ในช่วง 6-18 เดือน แต่ไม่เกิน2ปี เนื่องจากเด็กเริ่มเรียนรู้เรื่องเพศหากไม่ได้รับการรักษาจะทำให้มีผลต่อจิตใจของเด็ก