Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.8 การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ประสบสาธารณภัย, จ4, จ2, จ3, จ1, จ6, จ7,…
3.8 การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ประสบสาธารณภัย
พยาบาลในทีม MCATT ในการเตรียมตัวเพื่อขอรับสถานการณ์ฉุกเฉิน
อย่างแรกต้องทราบความหมายรูปแบบทีม MCATT ให้เข้าใจก่อน
คือ การช่วยเหลือหรือตอบสนองต่อความต้องการของผู้ประสบภาวะวิกฤตแต่ละช่วงเวลาของการประสบภาวะวิกฤตมีความแตกต่างกัน
ต้องมีการแบ่งช่วงระยะเวลาเพื่อเป็นแนวทางในการพิจารณาให้ความ
ช่วยเหลือ แบ่งได้ดังนี้
ระยะวิกฤตและฉุกเฉิน (ภายใน 72 ชั่วโมงแรกหลังเกิดเหตุ - 2 สัปดาห์)
ระยะวิกฤต (ภายใน 72 ชั่วโมงแรกหลังเกิดเหตุ)
เน้นการช่วยเหลือตามสภาพความเป็นจริงทั้งด้านร่างกาย ความต้องการพื้นฐาน
ปฏิกิริยาที่แสดงออกถือว่าเป็นปฏิกิริยาปกติในสถานการณ์ไม่ปกติ (Normal Reaction at Abnormal Situation)
เกิดความเครียด หวาดผวา หวาดกลัว ช็อก วิตกกังวล สับสน
ผู้ประสบภาวะวิกฤตจะช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
ระยะนี้เป็นระยะที่สำคัญต้องให้การปฐมพยาบาลด้านจิตใจแก่ผู้ประสบภาวะวิกฤต (PFA) และให้การช่วยเหลือที่ตรงตามความต้องการ
ระยะนี้ผู้ประสบภาวะวิกฤตจะมีการตื่นตัวทางสรีระและพฤติกรรม
ยกตัวอย่าง ระยะวิกฤต (ภายใน 72 ชั่วโมงแรกหลังเกิดเหตุ) ที่เป็นเหตุการณ์ไม่คาดคิดที่กระทบจิตใจผู้ประสบกับการเกิดเหตุและผู้อื่น
ยกตัวอย่าง โจรปล้นทองลพบุรี
ยกตัวอย่างกราดยิงโคราช
ระยะฉุกเฉิน (72 ชั่วโมง - 2 สัปดาห์)
ระยะนี้ผู้ประสบภาวะวิกฤต ทั้งผู้สูญเสียหรือผู้รอดชีวิตจะ
มองโลกในแง่ดี
การช่วยเหลือหลั่งไหลเข้ามา ผู้ประสบภาวะวิกฤตเกิดกำลังใจ
กลุ่มผู้ที่ต้องการบริการด้านสุขภาพจิต โดยมีขั้นตอน ดังนี้
2) คัดกรองและค้นหากลุ่มเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิต
มีหน้าที่ คือ
1.ใช้เวชระเบียนสำหรับผู้ประสบภาวะวิกฤต/ภัยพิบัติ (ผู้ใหญ่และเด็ก)
2.ให้การปฐมพยาบาลด้านจิตใจ
3) สำรวจความต้องการช่วยเหลือทั้งด้านร่างกายและจิตใจ และกาiให้การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจ
มีหน้าที่ คือ
สำรวจความต้องการของผู้ประสบภาวะวิกฤต
หากพบ ประเมินภาวะสุขภาพจิตผู้ประสบภาวะวิกฤตตามกระบวนการปฐมพยาบาลด้านจิตใจ (PFA)
เน้นให้ผู้ประสบภาวะวิกฤตระบายความรู้สึกให้มากที่สุด
ให้การช่วยเหลือทางด้านสุขภาพจิตผู้ประสบภาวะวิกฤต
2.สร้างสัมพันธภาพกับผู้ประสบภาวะวิกฤต
1.ให้การปฐมพยาบาลด้านจิตใจ (PFA)
1) เมื่อเกิดสถานการณ์วิกฤต ทีม MCATT
มีหน้าที่ คือ
3.เพื่อประเมินสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตและกำหนดพื้นที่ที่จะลงไป
3.ช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง เตรียมความพร้อมของทีม
2.ลงพื้นที่ร่วมกับทีมให้การช่วยเหลือทางกาย
4.จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์แบบประเมิน/ คัดกรองภาวะสุขภาพจิต
1.เข้าพื้นที่ให้การช่วยเหลือผู้ประสบภาวะวิกฤตในพื้นที่เสี่ยง
5.ทบทวนความรู้เรื่องการใช้แบบประเมิน/แบบคัดกรองภาวะสุขภาพจิต
4.การให้การปรึกษาปัญหาสุขภาพจิตอย่างเร่งด่วน (Crisis Counseling)
5) สรุปรายงานสถานการณ์เบื้องต้นพร้อมทะเบียนกลุ่มเสี่ยง
ระยะเตรียมการ
การพัฒนาความรู้และทักษะของบุคลากรโดยการฝึกอบรม ให้การช่วยเหลือและเยียวยาผู้ประสบภาวะวิกฤต (Intervention)
2.การช่วยเหลือ ทางจิตใจและสังคมในภาวะวิกฤต (Crisis Intervention)
3.การบำบัดทางพฤติกรรมความคิด(Cognitive Behavior Therapy :CBT)
1.การให้การปฐมพยาบาลทางจิตใจ (Psychological First Aid : PFA)
4.การช่วยเหลือด้านสุขภาพจิตตามแบบ Satir
เป็นระยะการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสถานการณ์วิกฤตต่างๆ อย่างทันท่วงที
2.การปฐมพยาบาลด้านจิตใจ (Psychological first Aid: PFA) ด้วยหลักการ EASE
วิธีการเรียกขวัญคืนสติลดความเจ็บปวดทางใจเสริมสร้างทักษะ (Skills: S) ประกอบด้วย
Touching skill (การสัมผัส) การสัมผัสทางกาย
ทักษะการ Grounding
การฝึกกำหนดลมหายใจ (Breathing exercise)
การลดความเจ็บปวดทางใจ ประกอบด้วย
1) การฟังอย่างใส่ใจ (Active Listening)
สรุปได้ คือ การฟังอย่างใส่ใจจะทำให้ผู้ประสบเหตุการณ์รุนแรงรู้สึกสงบ ลดความรุนแรงทางอารมณ์ เมื่ออารมณ์สงบความรู้สึกมั่นคงปลอดภัยจเกิดขึ้น
2) การสะท้อนความรู้สึก
สรุปคือ ทำให้ลดอารมณ์ที่รุนแรง พลุ่งพล่านลงได้
3) การเงียบ
สรุปได้คือ ควรพิจารณาว่าการเงียบที่เกิดขึ้นนั้นเป็นการเงียบทางบวกหรือทางลบ
4) การทวนซ้ำ
สรุปได้คือ ช่วยให้ผู้รับบริการเปิดเผยตนเองมากขึ้นและพูดต่อไป และเป็นการตรวจสอบว่าสิ่งที่ผู้ให้การปรึกษาได้ยินนั้นถูกต้องหรือไม่
การนวดสัมผัส และ การนวดกดจุดคลายเครียด
การเสริมสร้างทักษะ
การเรียนรู้การเสริมสร้าง Coping skills สามารถช่วยลดความกังวปฏิกิริยาที่เป็นทุกข์อื่นๆ ช่วยแก้ไขสถานการณ์
วิธีการให้สุขภาพจิตศึกษาและข้อมูลที่จำเป็น (Education)
ช่วยให้ผู้ประสบภาวะวิกฤตสามารถดำรงชีวิตอย่าง ปกติโดยเร็ว ประกอบด้วย 3 ต. ได้แก่
ต.1 ตรวจสอบความต้องการ
โดยไต่ถามถึงข้อมูลและตรวจสอบความต้องการช่วยเหลือที่จ าเป็นและ
เร่งด่วน
เพื่อวางแผนสนับสนุนแหล่งข้อมูลการช่วยเหลือด้านสังคม ด้านจิตใจ หรือด้านการแพทย์
ต.2 เติมเต็มความรู้
และผลกระทบทางจิตใจ
พร้อมทั้งบอกวิธีการปฏิบัติตัวเพื่อลดความเครียด แหล่งช่วยเหลือต่างๆ
ให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาการที่เกิดขึ้นจากความเครียด
ต.3 ติดตามต่อเนื่อง
ร่วมกันวางแผนและหาแนวทางในการรับการช่วยเหลือต่างๆ ในด้านการดูแลติดตามอย่างต่อเนื่อง
วิธีการประเมินผูู้ได้รับผลกระทบ (Assessment: A)
โดยใช้หลักการประเมิน 3 ป. ได้แก่
การประเมินสภาพจิตใจ
ผู้ประสบภาวะวิกฤตอยู่ในภาวะต่อรอง
เช่น พูดซ้ำๆ หรือพูดคาดคั้นในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น พูดรุกเร้าขอให้ช่วย
ทักษะการช่วยเหลือ
อดทน รับฟัง ไม่แสดงอาการท่าทางเบื่อหน่าย
สนองความต้องการในสิ่งที่สามารถให้ได้
การให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ที่เป็นจริงตามความเหมาะสม
ทักษะการประเมินอารมณ์ ความรู้สึกผู้ประสบภาวะวิกฤตและทักษะการบอกข่าวร้าย
ผู้ประสบภาวะวิกฤตอยู่ในภาวะเสียใจ
เช่น ร้องไห้ คร่ำครวญ ซึมเศร้า คอตก ท่าทางเลื่อนลอย
แยกตัว นิ่งเงียบ
ทักษะการช่วยเหลือ
การช่วยเหลือทางกายทำได้โดยหาผ้าเช็ดหน้า
รายที่มีอาการหายใจไม่ออกอาจใช้การฝึกหายใจแบบ Breathing Exercise
ใช้การสัมผัส (Touching) เช่น การนวด ผ่อนคลาย การรับฟังการพูดให้กำลังใจ
ผู้ประสบภาวะวิกฤตอยู่ในภาวะโกรธ
เช่น ตะโกน ด่าทอ กำมือ ขบกราม เกร็ง ตาขวาง กระวน
กระวาย เดินไปมา
ทักษการช่วยเหลือ
การดูแลทางกาย โดยให้อยู่ในสถานที่ปลอดภัย ให้มีการดูแลอย่างใกล้ชิด ผู้ให้การช่วยเหลือต้องมีท่าทีสงบนิ่ง ยอมรับพฤติกรรมที่แสดงออกมาของผู้ประสบภาวะวิกฤต
การดูแลทางใจ โดยให้ระบายความรู้สึกโดยใช้ทักษะการฟังอย่างตั้งใจ (Active Listening
Skill)
ผู้ประสบภาวะวิกฤตอยู่ในภาวะช็อกและปฏิเสธ
ทักษะการช่วยเหลือ
การดูแลทางจิตใจ ให้ผู้ประสบภาวะวิกฤตได้ระบายความรู้สึก
การดูแลทางกาย โดยให้อยู่ในสถานที่ที่สงบ รู้สึกปลอดภัย
การช่วยเหลือทางสังคม สอบถามความต้องการเร่งด่วนของผู้ประสบภาวะวิกฤต เช่น การโทรศัพท์ติดต่อญาต
เช่น มึนงง สับสน หลงลืม จำอะไรไม่ได้ ความคิดแตกกระจายไม่สามารถเชื่อมโยงความคิด
การประเมินภาวะฆ่าตัวตาย
ตัวชี้วัดที่บ่งบอกว่าผู้ประสบภาวะวิกฤตได้รับการตอบสนองความต้องการที่ได้จากการประเมินแล้ว
1) ผู้ประสบภาวะวิกฤตรับฟังมากขึ้น ยอมรับข้อมูล
2) อารมณ์สงบ
3) ลดเงื่อนไขในการต่อรองลง อาจต่อรองในสิ่งที่มีความเป็นไปได้มากขึ้น ยอมรับความจริงมากขึ้น
4) หลังจากผู้ประสบภาวะวิกฤตยอมรับความจริงมีอารมณ์สงบลง
ประเมินความต้องการทางสังคม
ผู้ประสบภาวะวิกฤตไร้ญาติขาดมิตร ประสานกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน หรือหน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือ ด้านที่พักอาศัย
ผู้ประสบภาวะวิกฤตต้องการความช่วยเหลือด้านการเงิน เช่น กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ศูนย์ป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยประจำจังหวัด
ผู้ประสบภาวะวิกฤตต้องการพบญาต
ประเมินและตอบสนองความตอบสนองทางด้านร่างกาย
ผูู้ประสบภาวะวิกฤตได้รับบาดเจ็บทางด้านร่างกาย ก็ต้องบรรเทาความเจ็บปวดด้วยยา
ผู้ประสบภาวะวิกฤตมีอาการอ่อนเพลีย ควรจัดหานํ้าให1ดื่ม หาอาหารให้รับประทาน
ผู้ประสบภาวะวิกฤตเป็นลม ควรจัดหายาดมแอมโมเนีย ผ้าเย็นเช็ดหน้าและแขน
ผู้ประสบภาวะวิกฤตกำลังอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย
วิธีการสร้างสัมพันธภาพและการเข้าถึงจิตใจของผู้ได้รับผล
กระทบ (Engagement: E)
การสร้างสัมพันธภาพ
รับฟังด้วยท่าทีที่สงบให้ก าลังใจ ด้วยการพยักหน้า การสัมผัส
ผู้ให้การช่วยเหลือควรเหมาะสมกับเหตุการณ์อารมณ์ความรู้สึกและสภาพสังคม วัฒนธรรม ศาสนาของ
มีการแนะนำตัวเอง มีการมองหน้าสบตา
ผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤต
ยกตัวอย่าง เมื่อเขาอยู่ในภาวะช็อค นั่งนิ่งไม่ควรฝืนความรู้สึกโดยพยายามให้เขาลุกขึ้นเดินไปยังสถานที่อื่น แต่ควรนั่งอยู่เป็นเพื่อนจนกว่าเขาจะรู้สึกผ่อนคลายลง จึงจะชวนเขาไปยังห้องพักที่เตรียมไว้
เช่น ไม่ยิ้มในขณะที่อีกฝ่ายเศร้าแม้ว่าต้องการจะยิ้มเพื่อให้กำลังใจก็ตาม
ิวิธีการเริ่มจากการที่ผู้ให้การช่วยเหลือควรมีท่าทีสงบนิ่ง
การสื่อสาร
ควรเริ่มพูดคุยเบื้องต้นเมื่อผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตมีความพร้อม
เช่น เริ่มสบตามีบทบาททีที่ผ่อนคลาย มีสติรู้ตัว รับรู้สิ่งแวดล้อมรอบตัวชัดเจนขึ้น
สังเกตภาษาท่าทางและพฤติกรรม
Nonverbal
สีหน้า แววตา ท่าทาง การเคลื่อนไหวของร่างกาย เช่น กำมือ มือไขว่คว้า
ผุดลุกผุดนั่ง ลุกลี้ลุกลน น้ำเสียงกรีดร้อง ตะโกน แผ่วเบา
Verbal
พูดสับสนฟังไม่รู้เรื่อง ด่าทอ ร้องขอความช่วยเหลือ พูดซ้ าไปซ้ ามา พูดวกวน