Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
จิตเวชชุมชนและภาวะวิกฤตภัยพิบัติ, นศพต.อังศุมาลี บุรีภักดี เลขที่ 65 -…
จิตเวชชุมชนและภาวะวิกฤตภัยพิบัติ
:star:
จิตเวชชุมชน
ปัจจัยที่ทำให้เกิดจิตเวชชุมชน
จำนวนของผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตเพิ่มขึ้น
ทำให้ รพ.จิตเวช ไม่สามารถรับ pt ได้ทั้งหมด
ปรับนโยบาย มีการดูแลรักษาและฟื้นฟู pt
ที่มีอาการทุเลานอกโรงพยาบาลจิตเวช
เน้นการปฏิบัติกับครอบครัว สังคมและสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว
เพื่อให้pt อยู่กับสภาพความเป็นจริงของสังคมได้
เน้นส่งเสริมและป้องกันการเกิดปัญหาสุขภาพจิต
ของคนในชุมชน
แนวคิดเกี่ยวกับสุขภาพจิตชุมชน
การป้องกันระยะแรก/ปฐมภูมิ
เน้นส่งเสริม ป้องกันเกิดปัญหาสุขภาพจิต
ลดอัตราการเกิด pt ใหม่
ขจัดปัจจัยเสี่ยง
ค้นหากลุ่มเสี่ยง
ส่งเสริมให้มีความรู้เรื่องสุขภาพจิต
และการเจ็บป่วยทางจิต
:warning:การพยาบาล
ค้นหาสิ่งที่ทำให้เกิดความเครียด
จัดกลุ่มส่งเสริมความรู้
จัดกลุ่มกิจกรรมช่วยเหลือ
ให้คำปรึกษาในการดูแลสุขภาพจิต
ให้การศึกษาเืพ่อให้มีความรู้ เข้าใจถูกต้อง
การป้องกันระยะที่สอง/ทุติยภูมิ
ลดจำนวนการเจ็บป่วยให้น้อยลง
เน้นบำบัดรักษาไม่ให้ลุกลาม
วินิจฉัย/ค้นหา เร็ว
ช่วยเหลือบุคคลที่เกิดวิกฤต
:warning:การพยาบาล
ทำจิตบำบัดรายบุคคล กลุ่ม ครอบครัว
ให้คำแนะนำ+เป็นที่ปรึกษา
ลดภาวะเครียด กดดัน
ส่งต่อpt โดยเร็วเพื่อได้รับการรักษา
ดูแลการให้ยา
การป้องกันระยะที่สาม/ตติยภูมิ
ดูแลรักษาต่อเนื่อง
ฟื้นฟูไม่ให้กลับเป็นซ้ำ/รุนแรง
ให้ความรู้ญาติ+ผู้ป่วย ให้ปฏิบัติตัวถูกต้อง ไม่เป็นซ้ำ
:warning:การพยาบาล
วางแผนจำหน่าย
ให้ ptมาตามนัด/เยี่ยมบ้าน
สอนให้pt ดูแลตนเองก่อนกลับบ้าน
หลักการให้บริการจิตเวชชุมชน
ให้ชุมชนเป็นฐาน
บริการเชิงรุก
ป้องกัน>แก้ไข
ลดค่าใช้จ่ายโดยรวม
ให้บริการครบทุกรูปแบบ
ให้บริการสหวิชาชีพ
ให้บริการอย่างต่อเนื่อง
ผสมผสานกับบริการสาธารณสุข
ประเมินผลการบริการและวิจัย
ส่งต่ออย่างมีระบบ
บทบาทการพยาบาล
ดูแลแบบองค์รวม กาย ใจ สังคม
บริหารpt ตามกรณี/ดูแลต่างกัน
เข้าใจวัฒนธรรมของpt
ให้ความรู้pt / ญาติ
รับผิดชอบเรื่องยา
เป็นส่วนนึงในทีมสหวิชาชีพ
ทำวิจัย/มีส่วนร่วมในงานวิจัย
ให้ความร่วมมือกับผู้ให้บริการทางการแพทย์
:star:
ภาวะวิกฤตภัยพิบัติ
องค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง
การรับรู้เหตุการณ์ของบุคคล
รับรู้เหตุการณ์เป็นการท้าทายความสามารถ
รับรู้เหตุการณ์เป็นจริงหรือบิดเบือน
รับรู้เหตุการณ์เรื่องการสูญเสีย
การมีบุคคลที่ช่วยเหลือ
ความสามารถเผชิญกับความเครียด
ชนิดของภาวะวิกฤต
ภาวะวิกฤตที่เกิดตามพัฒนาการ
เด็กตอนปลาย = การเข้าโรงเรียน
วัยรุ่น = การเปลี่ยนแปลงร่างกาย
เด็กตอนต้น = ฝึกขับถ่าย
ผู้ใหญ่ตอนต้น = วัยทอง
ทารก = หย่านม
วัยชรา = การเกษียณ
ภาวะวิกฤตจากสถานการณ์ภายนอกต่างๆ
จิตสังคม = ตกงาน อย่าร้าง สอบตก
สิ่งแวดล้อม =ไฟไหม้ ภัยพิบัติธรรมชาติ
ร่างกาย = การเจ็บป่วยร้ายแรง
ระยะวิกฤตทางอารมณ์
ระยะวิกฤต
เครียด วิตกกังวล ลองผิดถูกในการแก้ปัญหา
หลังเกิด
ปรับตัวกลับมาเข้มแข็ง และทำหน้าที่ได้
ก่อนเกิด
เครียดเล็กน้อย ยังไม่คุกคามต่อชีวิต
ปฏิกิริยาต่อการเกิด
1.มีความตึงเครียด
นำประสบการณ์ในอดีตมาแก้ปัญหา
2.ความเครยดมีอยู่สูงมาก
ใช้กลไกทางจิตในการแก้ปัญหา
3.ความเครียดสูงมากขึ้น
ระดมพลังทั้งหมดมาใช้
4.ความเครียดสูงสุด
พฤติกรรมเปลี่ยน ต้องการช่วยเหลือเร่งด่วน
การพยาบาลและการดูแลpt วิกฤต
ลดอาการเครียด ไม่ให้เครียดเพิ่ม
แก้ปัญหาในปัจจุบัน > ให้อารมณ์กลับมาปกติ
สามารถกลับไปทำหน้าที่ได้เหมือนเดิม
ระยะของวิกฤต
1.วิกฤต(เกิด-72hr)
เกิดความเครียดหวาดผวา
มีการตื่นตัว/ช่วยเหลือกันและกัน
หลายภาคส่วนให้การช่วยเหลือ/แบบไม่มีระบบ
:red_flag:การดูแล
ช่วยเหลือเฉพาะหน้า
ช่วยเหลือตามความจริง
รับฟังอย่างสงบ เข้าใจ
สอนวิธีคลายเครียด
จัดสิ่งแวดล้อมสงบ ปลอดภัย
2.ฉุกเฉิน(72hr-2wk)
ผู้สูญเสีย/รอดชีวิต มองโลกในแง่ดี
ได้รับความสนใจ สื่อให้ความสนใจ
:red_flag:การดูแล
สำรวจข้อมูลสถานการณ์+ความต้องการ = ช่วยเหลือ
คัดกรองเพื่อหากลุ่มเสี่ยง = จัดลำดับความต้องการ
ถ้าประสบภาวะวิกฤต = ปฐมพยาบาลด้านจิตใจ
3.หลังได้รับผลกระทบ(2wk-3m)
เผชิญความจริง การช่วยเหลือเริ่มหาย
เครียด วิตกไม่แน่ใจอนาคต
:red_flag:การดูแล
กำหนดกลุ่มเสี่ยงชัดเจน = คัดกรองซ้ำๆ
ติดตามส่งต่อข้อมูลpt อย่างต่อเนื่อง
กรณีไม่พบ : ช่วยเหลือตามสภาพ
กรณีพบ : ส่งต่อ+ติดตามดูแลต่อเนื่อง
4.ฟื้นฟู(>3m)
:red_flag:การดูแล
บำบัดต่อเนื่อง = ให้ยา ให้คำปรึกษา
ติดตามต่อเนื่องหลังส่งต่อจนหมดความเสี่ยง
ถ้าจัดการไม่ได้ = ส่งต่อหน่วยบริการสาธารณสุข
จัดกิจกรรมเสริมพลังโดยชุมชน
ถ้ามีปัญหา = ให้การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจ
นศพต.อังศุมาลี บุรีภักดี เลขที่ 65