Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ประสบสาธารณภัย - Coggle Diagram
การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ประสบสาธารณภัย
การเตรียมตัวรับสถานการณ์ฉุกเฉิน
เตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสถานการณ์วิกฤตต่างๆ อย่างทันท่วงที
จัดเตรียมทีมเพื่อปฏิบัติงานให้การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจ
เตรียมความพร้อมของชุมชนโดย
การให้ความรู้เรื่องภัยพิบัติ
การปฏิบัติตัวเมื่อเกิดภัยพิบัติ
ระบบการเตือนภัย
การซ้อมแผนการช่วยเหลือด้านสุขภาพจิต
พัฒนาความรู้และทักษะของตนเองโดย
ฝึกอบรมเกี่ยวกับการช่วยเหลือเยียวยาจิตใจ การให้การปฐมพยาบาลทางจิตใจ (Psychological First Aid : PFA)
ช่วยเหลือทางจิตใจและสังคมในภาวะวิกฤต (Crisis Intervention)
การบำบัดทางพฤติกรรมความคิด (Cognitive Behavior Therapy : CBT)
จัดเตรียมโครงสร้างการดำเนินงานช่วยเหลือ ด้านสุขภาพจิตผู้ประสบภาวะวิกฤต และแผนการดำเนินงานเพื่อรองรับสถานการณ์วิกฤต รวมถึงการจัดต้ังศูนย์อำนวย
การปฐมพยาบาลทางจิตใจ (Psychological first Aid: PFA)
ด้วยหลักการ EASE
วิธีการเรียกขวัญคืนสติลดความเจ็บปวดทางใจเสริมสร้างทักษะ(Skills: S)
การฝึกกำหนดลมหายใจ Breathing exercise
การสัมผัส Touching skill
ทักษะการ Grounding
การนวดสัมผัส และ การนวดกดจุดคลายเครียด
การลดความเจ็บปวดทางใจ
การเสริมสร้างทักษะ
การสร้างสัมพันธภาพและการเข้าถึงจิตใจของผู้ได้รับผลกระทบ (Engagement: E)
การสังเกตภาษาท่าทางและพฤติกรรม
Nonverbal สีหน้า แววตา ท่าทาง การเคลื่อนไหวของร่างกาย
Verbal พูดสับสนฟังไม่รู้เรื่อง ด่าทอ ร้องขอความช่วยเหลือ พูดซ้ำไปซ้ำมา พูดวกวน
การสร้างสัมพันธภาพ
ควรมีท่าทีสงบนิ่ง มีการแนะนำตัวเอง มีการมองหน้าสบตา รับฟังด้วยท่าทีที่สงบให้กำลังใจ ด้วยการพยักหน้า การสัมผัส
การสื่อสาร
เริ่มพูดคุยเบื้องต้นเมื่อผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตมีความพร้อม
วิธีการให้สุขภาพจิตศึกษาและข้อมูลที่จำเป็น (Education:E)
ต.3 ติดตามต่อเนื่อง
ร่วมกันวางแผนและหาแนวทางในการรับการช่วยเหลือต่าง ๆ พูดคุยวางแผนร่วมกันระหว่างผู้ให้การช่วยเหลือกับผู้ประสบภาวะวิกฤต
ต.1 ตรวจสอบความต้องการ
ไต่ถามถึงข้อมูลและตรวจสอบความต้องการช่วยเหลือที่จำเป็นและ เร่งด่วน
ใช้วิธีสอบถามเพื่อสำรวจในเรื่อง ความต้องการ การสนับสนุนในด้านเศรษฐกิจ การเงิน อาชีพ ปัญหาภายในครอบครัวที่ต้องการการช่วยเหลือ
ต.2 เติมเต็มความรู้
ให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาการที่เกิดขึ้นจากความเครียด
ผลกระทบทาง จิตใจ ที่อาจเกิดขึ้น
บอกวิธีการปฏิบัติตัวเพื่อลดความเครียด แหล่งช่วยเหลือต่าง ๆ
วิธีการประเมินผู้ได้รับผลกระทบ (Assessment: A)
ประเมินและตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย
การดูแลทางกาย ให้อยู่ในสถานที่ที่สงบ รู้สึกปลอดภัย เตรียมนํ้า ยาดม
การดูแลทางจิตใจ ให้ผู้ประสบภาวะวิกฤตได้ระบายความรู้สึก
การช่วยเหลือทางสังคม สอบถามความต้องการเร่งด่วนของผู้ประสบภาวะวิกฤต เช่น การโทรศัพท์ติดต่อญาติ
ผู้ประสบภาวะวิกฤตอยู่ในภาวะโกรธ
การดูแลทางกาย ให้อยู่ในสถานที่ปลอดภัย ให้มีการดูแลอย่างใกล้ชิด จัดระยะห่างที่เหมาะสมระหว่างผู้ประสบภาวะวิกฤต และผู้ให้การช่วยเหลือ
การดูแลทางใจ ให้ระบายความรู้สึกโดยใช้ทักษะการฟังอย่างตั้งใจ (Active Listening Skill)
ผู้ประสบภาวะวิกฤตอยู่ในภาวะต่อรอง
อดทน รับฟัง ไม่แสดงอาการท่าทางเบื่อหน่าย
สนองความต้องการในสิ่งที่สามารถให้ได้
การให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ที่เป็นจริงตามความเหมาะสม
ผู้ประสบภาวะวิกฤตอยู่ในภาวะเสียใจ
การช่วยเหลือทางกายทำได้ โดยหาผ้าเช็ดหน้า นํ้าเย็น ผ้าเย็น ในรายที่มีอาการหายใจไม่ออก อาจใช้การฝกหายใจแบบ Breathing Exercise
การประเมินภาวะฆ่าตัวตาย
ผู้ประสบภาวะวิกฤตรับฟังมากขึ้น ยอมรับข้อมูล
อารมณ์สงบ
ลดเงื่อนไขในการต่อรองลง อาจต่อรองในสิ่งที่มีความเป็นไปได้มากขึ้น
หลังจากผู้ประสบภาวะวิกฤตยอมรับความจริงมีอารมณ์สงบลง
ประเมินความต้องการทางสังคม
ผู้ประสบภาวะวิกฤตต้องการพบญาติ
ผู้ประสบภาวะวิกฤตไร้ญาติขาดมิตร ประสานกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน
ผู้ประสบภาวะวิกฤตต้องการความช่วยเหลือด้านการเงิน