Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5.3 ความผิดปกติของฮอร์โมน, นางสาวธิดารัตน์ ภูพานทอง รหัส 602701034…
บทที่ 5.3 ความผิดปกติของฮอร์โมน
โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์
Overt Diabetes mellitus
เบาหวานก่อนการตั้งครรภ์
ก่อนอายุครรภ์ 24 สัปดาห์
Gestational Diabetes mellitus
ความผิดปกติของความคงทนต่อน้ำตาลกลูโคส
ตรวจพบครั้งแรกระหว่างการตั้งครรภ์
พยาธิสภาพ
พลังงานไม่เพียงพอเซลล์จึง oxydize ไขมันและโปรตีน เกิดภาวะ ketosis
ระดับของ insulin, Glucagon เปลี่ยนแปลง
ไม่สามารถเปลี่ยนกลูโคสในเลือดเปนไกลโคเจนเกิดการสะสมของน้ำตาลในเลือด
รกสร้าง HPL ยับยั้งการทําหน้าที่ของ Insulin
ผลกระทบของโรคเบาหวาน
ผลต่อมารดา
Diabetic nephropathy
Pregnancy induced hypertension
Infection
Preterm birth
Polyhydramnios
Dystocia
Postpatum hemorrhage
Diabetic retinopathy
ผลต่อทารก
Abortion
Malformation
Fetal Death
Macrosomia
IUGR
ผลต่อทารกแรกเกิด
Neonatal hypoglycemia
Neonatal hypokalemia
Hyperbilirubinemia
Polycythemia
Hypertrophie
Inheritance of diabetes
RDS
การจําแนกชนิด
GAM. A-1
fasting plasma glucose < 105 mg/dl
2-hour post prandial glucose < 120 mg/dl
GDM. A-2
fasting plasma glucose > 105 mg/dl
2-hour post prandial glucose >120 mg/dl
การวินิจฉัย
การประเมินภาวะเสี่ยง
คลอดผิดปกติ
BMI >27 kg/m2
ครอบครัว
อายุมากกว่า 35 ปี
Urine : Trece
Hx.DM
Glucose challenge test
Glucose 50 g. 1hr.
Plasma glucose > 140 mg/dl ส่ง OGTT
140-199 mg/dl นัด 1 wks. มาตรวจ DM
200 mg/dl = GDM
การดูแลรักษา
ระยะตั้งครรภ์
การสังเกตภาวะแทรกซ้อน
ควบคุมอาหาร
งดอาหารนาตาล
การใช้ Insulin
การคุมน้ำหนัก
ความสะอาดของร่างกาย
การสังเกตเด็กดิ้น
ระยะคลอด
การกําหนดเวลาคลอด
การใช้ Insulin
IV fluid
การคลอดตามข้อบ่งชี้
ก่อนการตั้งครรภ์
การให้คำปรึกษาก่อนการตั้งครรภ์
สภาพเศรษกิจและสังคม
การเสริมวิตมิน
การประเมินพยาธิสภาพ
การควบคุมระดับกลูโคส
การออกกําลังกาย
ระยะหลังคลอด
ควบคุมระดับน้ำตาล
ภาวะแทรกซ้อน
การดูแลทั่วไป
Breast feeding
การคุมกําเนิด
การดูแลทารก
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีโอกาสเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดตาลสูงในระยะรอคลอดและคลอดเนื่องจากภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์
วิตกกังวลเกี่ยวกับการคลอดและความปลอดภัยของบุตร เนื่องจากมีภาวะเบาหวานขณตั้งครรภ์
ทารกแรกเกิดเสี่ยงต่อการเกิดอันตรายจากภาวะนาตาลในเลือดต่ำเนื่องจากภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์
มีโอกาสเกิดการตกเลือดหลังคลอดเนื่องจากมีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์
ภาวะต่อมไทรอยด์ทํางานมาก
สาเหตุ
ลด
Graves
Plummer's disease
Toxic adenoma
อาการและอาการแสดง
มือสั่น
ผมร่วง
ตาโปน
หิวบ่อย
ตกใจง่าย
น้ำหนักลด
การวินิจฉัยโรค
ซักประวัติ
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เจาะเลือดตรวจ TSH
FT4= 0.8-2.3 ng/dl
T3 uptake สูง T4 สูง
ค่าปกติ 0.35-5 mU/dl
Total T3 = 80-220 ng/dl
การตรวจเลือด CBC
ตรวจร่างกาย
ผลกระทบ
ต่อมารดา
แท้งและคลอดก่อนกําหนด
ความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์
รกลอกตัวก่อนกําหนด
ต่อทารก
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ต่อมไทรอยด์เป็นพิษแต่กําเนิด
ภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กําเนิด
แนวทางการรักษา
การให้ยา
Propylthiouracil (PTU) 100-150 mg/day
Methimazole
Adrenergic blocking agent (Inderal)
Radioiodine therapy
การผ่าตัด
ภาวะฉุกเฉิน Thyroid storm
ไข้ 38.5 องศาเซลเซียสหลังคลอด 2-3 ชั่วโมง
คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง ท้องเสีย
สับสนชักจนหมดสติ
Tx.
ยาต้านไทรอยด์ฮอร์โมนและ iodine
การรักษาแบบประคับประคอง
หัวใจเต้นเร็วชีพจร 140 ครั้งต่อนาที
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีโอกาสเกิดการทํางานของหัวใจล้มเหลวเนื่องจากมีระดับไทรอยด์ฮอร์โมนสูง
มีโอกาสเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวเนื่องจากต้องต้องสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงเซลล์ในร่างกายมากเกินไป
มีโอกาสเกิดภาวะต่อมไทรอยด์วิกฤติจากการทํางานของต่อมไทรอยด์มากกว่าปกติและเจ็บครรภ์
การพยาบาล
ระยะคลอด
จัดท่านอนศรีษะสูง
วัดสัญญาณชีพ 1-2 ชั่วโมง
ดูแลให้ยาระงับปวด
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ประเมินสภาพของทารกในครรภ์
อาการหายใจไม่สดวกใจสั่น
ระยะหลังคลอด
ประเมินสัยญาณชีพ ทุก 10 นาที
ให้ผู้คลอดเบ่งน้อยที่สุด
ฟังเสียงหัวใจทารกทุก 5 นาที
หลังคลอดฉีด Syntocinon ห้ามใช้ยา methergin
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำการปฏิบัติตัว
รับประทานอาหาร 4000-5000 แคลอรี่
การพักผ่อนวันละ 10 ชั่วโมง
การรับประทานยา
รักษาความสะอาด
นับการดิ้นของทารก
อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติอารมณ์ที่เปลี่ยนแปลง
อธิบายเกี่ยวกับโรค
ภาวะต่อมไทรอยด์ทํางานน้อย
อาการ
น้ำหนักเพิ่ม
ทนเย็นไม่ได้
เบื่อาหาร
ผมร่วง เล็บเปราะ เสียงแหบ
ผิวแห้งกร้าน
ประวัติ
การรักษามาก่อน
การใช้ lithium
การตรวจ
T ต่ำ DTR ช้า
ระดับ FT4 ต่ำ ระดับ TSH ต่ำ
การรักษา
ติดตามการทํางานของต่อมไทรอยด์ทุกไตรมาส
Levothyroxine (T4) 100-200 ug/day
ปรับขนาดยาตามระดับ TSH,T4
ผลกระทบ
ต่อมารดา
แท้ง
คลอดก่อนกําหนด
ทารกตายในครรภ์
ความดันโลหิตสูง
รกลอกตัวก่อนกําหนด
ตกเลือดหลังคลอด
ต่อทาก
ทารกมีความพร่องในการพัฒนาสมอง
Cretinism
สาเหตุ
มีการทําลายเนื้อต่อมไทรอยด์
จากการรักษาผ่าตัดหรือจากสารรังสี
การขาดไอโอดีน
การพยาบาล
ทารกมีภาวะเสี่ยงต่อคริตินิซึม
เจาะเลือดจากสายสะดือทารกแรกเกิดเพื่อส่งตรวจหาไทรอยด์ฮอร์โมน
ซักประวัติผู้คลอดเพื่อพิจารณาความเสี่ยง
การขาดไอโอดีน
เมตาบอลิซึมของร่างการต่ำลงเนื้องจากขาดไทรอยด์ฮอร์โมน
การรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง
รับประทานอาหารที่มีโปรตีนคาร์โบไฮเดรตและมีเส้นใย
การพักผ่อน
การติดตามฝากครรภ์ตามนัด
นางสาวธิดารัตน์ ภูพานทอง รหัส 602701034