Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษากับชุมชน และท้องถิ่น - Coggle Diagram
ความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษากับชุมชน และท้องถิ่น
ความหมาย
กิติมา ปรีดีดิลก (พ.ศ.2532)
กระบวนการในการวางแผน การควบคุม การประสานงาน การจัดบุคลากร และเผยแพร่ความรู้ต่อชุมชนเพื่อร่วมกันพัฒนาชุมชน และโรงเรียนให้เจริญก้าวหน้าไปพร้อมกัน
การติดต่อสื่อสารระหว่าง โรงเรียนกับชุมชน เพื่อร่วมมือและช่วยเหลือในการพัฒนาโรงเรียนและชุมชน ให้มีความเข้มแข็ง และเจริญก้าวหน้า โดยใช้แหล่งทรัพยากรซึ่งกันและกัน เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ในด้านต่าง ๆ รวมทั้งการสานสัมพันธ์อันดีให้เกิดขึ้นระหว่างบุคลากรภายในโรงเรียนและประชาชนในชุมชน
ความมุ่งหมายของความสัมพันธ์
สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ.2540)
เพื่อให้ชุมชนมีความเข้าใจอันดีต่อโรงเรียน อันจะช่วยให้โรงเรียนได้รับความ ร่วมมือและความสะดวกในการดําเนินงาน
เพื่อให้โรงเรียนสามารถใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชุมชน คือ บุคคล วัสดุ และ สิ่งแวดล้อม เพื่อการดําเนินงานของโรงเรียนได้
เพื่อให้โรงเรียนได้รับการสนับสนุนช่วยเหลือจากชุมชน ทั้งด้านการเงิน แรงงาน วัสดุอุปกรณ์ และความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการดําเนินงานของโรงเรียน
เพื่อเป็นการให้ความช่วยเหลือชุมชน ทางด้านวิชาการและอื่น ๆ อันจะเป็นการมี ส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมอีกทางหนึ่ง
เพื่อสนับสนุนในการดําเนินงานหลักของโรงเรียน คือ งานวิชาการบรรลุเป้าหมายได้สะดวก
เพื่อสร้างบรรยากาศที่ดีในสิ่งแวดล้อมของหน่วยงาน อันจะทําให้บุคลากรมีขวัญ และกําลังใจในการปฏิบัติงาน
พนิจดา วีระชาติ (พ.ศ.2548)
เพื่อสร้างเสริมสัมพันธภาพระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
เพื่อสร้างเสริมความรู้สึกเป็นเจ้าของให้แก่ชุมชน
เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในกิจการของโรงเรียน
เพื่อฟื้นฟูและรักษาวัฒนธรรมของชุมชน
เพื่อสร้างความกลมกลืนระหว่างบ้านกับโรงเรียน
โรงเรียนกับชุมชน เป็นการตั้งเป้าหมายเพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างโรงเรียนกับชุมชนในการพัฒนาทั้งทรัพยากรในท้องถิ่น สภาพแวดล้อม และบุคลากรในชุมชน
หลักการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
ท่าทีของผู้บริหารโรงเรียนและครู
การสร้างความคุ้นเคยกับสมาชิกของชุมชน ครูและผู้บริหารโรงเรียน
ความเชื่อความศรัทธา ที่ชุมชนมีต่อโรงเรียน
การให้บริการทางวิชาการ โดยทําให้โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน
การให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการกําหนดทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของชุมชน
การประชาสัมพันธ์เป็นสิ่งจําเป็นที่โรงเรียนควรสร้างความเข้าใจที่ดีต่อชุมชน
กิจกรรมที่โรงเรียนจัดต้องสร้างสรรค์
บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา
มีความรู้ ความสามารถ
มีวิสัยทัศน์ในการบริหารการศึกษาให้ทันสมัยกับการเปลี่ยนแปลง
มีภาวะผู้นำ
มีความเป็น ประชาธิปไตย
มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีเป็นที่ยอมรับในชุมชน
มีแนวทางในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
ใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาในท้องถิ่น เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ในการเรียนการสอนของนักเรียนเป็นสำคัญ
แนวคิดและทฤษฎี
พนิจดา วีระชาติ (พ.ศ.2542)
การสร้างความสัมพันธภาพอันดีระหว่างโรงเรียนกับชุมชน เพื่อให้โรงเรียนรู้จักกับชุมชนดีข้ึนในแง่ท่ีสามารถค้นหาและใช้แหล่งทรัพยากรในชุมชนให้เกิดประโยชน์ต่อการศึกษา
รัตนาภรณ์ สกุณี (พ.ศ.2546)
การติดต่อประสานงานร่วมกันเพื่อให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกันระหว่างโรงเรียนกับชุมชน