Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทารกแฝดที่เกิดภาวะแทรกซ้อนpreterm - Coggle Diagram
ทารกแฝดที่เกิดภาวะแทรกซ้อนpreterm
การพยาบาล
มารดา
ผู้คลอดครรภ์แรกไม่มีประสบการณ์การคลอด
ตรวจร่างกายเฉพาะที่ขนาดหน้าท้อง ท่าทารก ส่วนนํา การเคลื่อนต่ำของส่วนนําเข้าสู่ช่องเชิงกราน ฟังอัตราการ เต้นของหัวใจทารกในครรภ์
ตรวจวัดสัญญาณชีพ อุณหภูมิร่างกาย ชีพจร หายใจ ความดันโลหิต
ประเมินสภาพร่างกายทั่ว ๆ ไป วัดสัญญาณชีพ สังเกตรูปร่าง ลักษณะท่าทางการเดิน
การตั้งครรภ์ในปัจจุบัน อายุครรภ์อาการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ เช่น บวม ชัก ซีด ความดันโลหิตสูง และเจ็บครรภ์จริง และอาการแสดงของการมีมูกเลือด ถุงน้ําคร่ํา
ซักประวัติการตั้งครรภ์จํานวนครั้งการตั้งครรภ์การแท้ง การขูดมดลูก รวมถึงการคลอดในครรภ์ก่อน ๆ
ตรวจการหดรัดตัวของมดลูกพร้อมลงบันทึก
ตรวจภายในเพื่อประเมินความก้าวหน้าของการคลอดแจ้งให้ผู้คลอดและญาติทราบพร้อมทั้งจดบันทึก
ตรวจปัสสาวะเพื่อตรวจหาน้ำตาลและไข่ขาวในปัสสาวะ
โกนขนบริเวณหน้าท้องและบริเวณฝีเย็บ
ดูแลเปลี่ยนเสื้อผ้าเป็นชุดของโรงพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะสายสะดือย้อย เนื่องจากถุงน้ำคร่ำแตก
ฟังและบันทึกการเต้นหัวใจของทารกทุก 30 นาที เพื่อประเมินอาการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
3.ตรวจบันทึกการหดรัดตัวของมดลูกทุก 30 นาที เพื่อประเมินการก้าวหน้าของการคลอด
ดูแลให้ผู้คลอดนอนพักบนเตียงโดยนอนในท่าหงายยกก้นสูง เพื่อป้องกันการพลัดต่ำของสายสะดือ
พิจารณาการตรวจภายในเท่าที่จำเป็น เพื่อลดการนำเชื้อโรคเข้าสู่โพรงมดลูก
มารดาเสี่ยงต่อการตกเลือดในระยะคลอดและหลังคลอดเนื่องจากหดลูกหดรัดตัวไม่ดี
6.ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก หากไม่พบว่ามดลูกหดตัวเป็นก้อนแข็ง ดูแลคลึงมดลูกพร้อมกับการไล่ก้อนเลือดออกจากโพรงมดลูกให้หมด
7.แนะนำมารดาสังเกตการหดรัดตัวของมดลูกและสอนการคลึงมดลูกเพื่อกระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
5.ประเมินการเสียเลือดของมารดาหลังคลอดจากแผลฝีเย็บและช่องคลอด หากพบว่ามีการเสียเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 500 cc. ให้รายงานแพทย์
4.เตรียมอุปกรณ์ที่จำเป็นในการช่วยเหลือภาวะตกเลือดให้พร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา
8.ติดตามสัญญาณชีพเพื่อประเมินภาวะช็อค
3.ประเมินความก้าวหน้าของการคลอดในกรณีที่คลอดทางช่องคลอด ตรวจสอบการคลอด และการแตกของถุงน้ำคร่ำทารกคนที่2อย่างใกล้ชิดและระมัดระวัง
2.ตรวจสอบความผิดปกติต่างๆ ได้แก่ การหดรัดตัวของมดลูก การแตกของถุงน้ำคร่ำ
1.เฝ้าระวังสังเกตอาการเปลี่ยนแปลงอย่างใกล้ชิดและสม่ำเสมอ
9.ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง เพื่อลดการขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูก
ทารก
ทารกแรกเกิดมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากการคลอดก่อนกำหนด
ให้ข้อมูลผู้คลอดและญาติทราบถึงสาเหตุของการคลอดก่อนกำหนด ความจำเป็นต้องยุติการตั้งครรภ์ และสภาพทารกในครรภ์
นอนพักบนเตียงห้ามลุกจากเตียง หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ไม่จำเป็น
ประเมินอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ทุก 1 ชั่วโมง และ On EFM เป็นระยะ
หลีกเลี่ยงการตรวจภายในหากไม่จำเป็น
ดูแลให้ผู้คลอดได้รับยาDexamethasone 6 mg เข้ากล้ามเนื้อ ทุก 12 ชั่วโมง ครบ 48 ชั่วโมง เพื่อให้เกิด Fetal Lung maturity 6
ช่วยเหลือในการทำกิจวัตรประจำวัน
เตรียมเครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องช่วยชีวิตและเตรียมทีมชำนาญการดูแลทารกแรกคลอดก่อนกำหนดให้พร้อม
ให้ความอบอุ่นโดยจัดให้นอนใต้เครื่องทำความอบอุ่น (radiant warmer) ดูแลให้การพยาบาลทารกแรกเกิด เกิดหายใจไม่ดีรีบนำส่งตึกทารกแรกเกิดหรือ NICU
อธิบายให้ผู้คลอด และญาติรับทราบถึงความจำเป็นต้องได้รับการดูแลรักษาที่ตึกทารกแรกเกิดและนำส่งทารกแรกเกิดที่ให้การพยาบาลแรกคลอดแล้วไปยังตึกทารกแรกเกิด
ทารกมีภาวะเสี่ยงต่อการขาดออกซิเจนในระยะคลอดได้เนื่องจากตั้งครรภ์แฝด เจ็บครรภ์คลอดก่อนกําหนด
เตรียมบุคลากรและเครื่องมือในการช่วยฟื้นคืนชีพทารก
รายงานแพทย์เมื่อพบว่าอัตราการเต้นหัวใจทารกน้อยกว่า 110 ครั้ง/นาที หรือมากกว่า 160 ครั้ง/นาที หรือไม่สม่ําเสมอ
ฟังเสียงหัวใจทารกทุก 5 นาที พร้อมบันทึกการพยาบาลเพื่อประเมินทารกขาดออกซิเจน
ให้มารดานอนตะแคงซ้ายในช่วงที่ไม่มีการเบ่งคลอดเพื่อให้เลือดมาเลี้ยงมดลูกและบริเวณรกมากขึ้น เพื่อป้องกัน ทารกในครรภ์ขาดออกซิเจนได้
ให้ออกซิเจนแก่มารดาทางCannula 5 ลิตร/นาที ในขณะเจ็บครรภ์
ประสานงานกับหอผู้ป่วยทารกแรกเกิดวิกฤตในการเตรียมพร้อมรับทารกที่อาจมีปัญหา
เตรียมมารดาเพื่อช่วยเหลือการคลอดที่เร็วกว่าปกติ เช่น NPO ทำความสะอาดผิวหนังบริเวณหน้าท้อง อวัยวะ
เมื่อทารกคลอดรับทารกมาวางบน Radiant warmer
จัดท่าของศีรษะทารกให้คอแหงนเล็กน้อย (Slightly extending or sniffing position)
เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง ทารกไม่มีขี้เทาปนในน้ําคร่ํา ดูดเสมหะในปากและจมูก
เช็ดตัวให้แห้งและเอาผ้าเปียกออก
กระตุ้นให้ทารกหายใจด้วยการสัมผัสโดยดีดหรือตบฝ่าเท้าเบา ๆ หรือ ใช้ฝ่ามือลูบที่บริเวณลําตัวด้านหลังเบา ๆ
ประเมิน V/S เพื่อใช้ในการตัดสินการช่วยเหลือต่อไป
มารดาวิตกกังวลเกี่ยวกับสุขภาพทารก เนื่องจากมารดาครรภ์แฝดคลอดก่อนกำหนด และน้ำหนักตัวน้อย
อธิบายให้มารดาและครอบครัวทราบถึงภาวะที่เกิดขึ้นในครรภ์แฝดและแผนการดูแล
ให้ข้อมูลมารดารับทราบว่าจะมีแพทย์และพยาบาลให้การดูแลช่วยเหลือทารก เพื่อช่วยลดความกลัวและความวิตกกังวล
สร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อมารดาและครอบครัว เปิดโอกาสให้พูดคุยระบายความรู้สึก รวมทั้งยอมรับท่าทีและปฏิกิริยาการตอบสนองต่อความเครียดและความวิตกกังวล
ส่งเสริมให้ Eye to Eye Contract เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างมารดาและทารก
สนับสนุนให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการรับรู้ปัญหาและให้ความช่วยเหลือตามความเหมาะสม
ประเมินการต้องการความช่วยเหลือ เพื่อให้การสนับสนุนทารกและครอบครัว
การรักษา
4.Antibiotic Intrauterine bacterial infection เป็นสาเหตุสำคัญของการเกิด preterm labor แต่การให้ antibiotic เพื่อป้องกัน preterm birth และยืดอายุครรภ์ไม่มีความแตกต่างกับกลุ่มที่ไม่ได้ Antibiotic จึงไม่แนะนำให้antibioticใน preterm labor ทุกคน แต่แนะนำใช้ในกรณีPreterm RROM เพื่อ prolonged latency phase และในกลุ่ม Group B streptococci carrier
2.Tocolysis การยับยั้งภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดนั้นๆไม่สามารถยืด อายุครรภ์ได้นานหนัก แต่มีประสิทธิภาพในการยืดอายุครรภ์มากที่สุด 48 ชั่วโมง เฉพาะกับหญิงตั้งครรภ์ที่ทารกจะได้ประโยชน์จากอายุครรภ์ที่เพิ่มขึ้น 48 ชั่วโมง ได้แก่ Intrauterine transfer การให้ Tocolysis ควรที่จะให้ในหญิงตั้งครรภ์ที่ทารกจะได้รับประโยชน์จากการยืดอายุครรภ์อีก 48 ชั่วโมงและมีแนวโน้มจะคลอดคือมีการบีบตัวของมดลูกอย่างสม่ำเสมอ และปากมดลูกเปิดมากกว่าหรือกับ 2 cm
การให้ Magnesium sulfate for fetal neuroprotection
ในช่วงก่อนคลอดในกลุ่มpreterm birth ช่วยลดการเกิดภาวะ neurologic morbidities จึงแนะนำว่า การให้ Magnesium sulfate สามารถลด severity และ risk ของ cerebral palsy ในทารกได้เมื่อคลอดก่อนอายุครรภ์ 32 สัปดาห์ หากพิจารณาให้ Magnesium sulfate แล้วจะต้องสังเกตอาการอย่างใกล้ชิด และแบบฟอร์มที่เป็นแนวทางในการให้ Magnesium sulfate เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดได้
Antenatal corticosteroid
เป็น interventionที่ได้ประโยชน์ต่อทารกอย่างมีนัยสำคัญ (improve neonatal outcome) โดยช่วยให้สร้าง Lung maturity พบว่าสามารถลดทั้ง severity และfrequency
Nonpharmacologic management
เนื่องจากความเสี่ยงต่อการเกิด Preterm labor มีส่วนหนึ่งเกี่ยวกับการมีกิจกรรมต่างๆของหญิงตั้งครรภ์ ซึ่งมีการแนะนำว่าการลดกิจกรรมต่างๆ Bed rest และ hydration จะลด uterine activityได้
Hx.ผู้ป่วยเพศหญิงไทย อายุ 17 ปี
การตรวจครรภ์
ระดับยอดมดลูก 37 cm.
ทารกมีศีรษะเป็นส่วนนำ
เคลื่อนลงสู่ช่องเชิงกรานแล้ว
FHS สม่ำเสมอ
แฝดคนแรก 132 ครั้ง/นาที
แฝดคนที่สอง 140 ครั้ง/นาที
การตรวจทางช่องคลอด
ปากมดลูกขยาย 4 cm. ความบางของปากมดลูก 100% ส่วนนำอยู่ระดับ 0 ถุงน้ำคร่ำยังอยู่
การตรวจพิเศษ
NST :Reactive
Dx.Twins c Preterm Labour
การทำหัตถการ : Normal labour c degree tear
CC.ท้องแข็งตึงเป็นพัก ๆ 3 hr. PTA
PI.มารดาอายุครรภ์ 35 สัปดาห์ คำนวนจากประจำเดือนครั้งสุดท้าย ฝากครรภ์ตามเกณฑ์ ผลการตรวจเลือดปกติ HBsAg : Negative, VDRL : Non Reactive, HIV : Negative, Blood group O, Rh Positive, Hct. ครั้งที่ 1 = 35% ครั้งที่ 2 =40% ได้รับวัคซีนป้องกันบาดทะยักครบระหว่างตั้งครรภ์