Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีทางจิตวิทยาพัฒนาการมนุษย์ - Coggle Diagram
ทฤษฎีทางจิตวิทยาพัฒนาการมนุษย์
ทฤษฎีสติปัญญาของเพียงเจต์
ประวัติ
สนใจทางปัรัชญาและจิตวิทยา
สนใจการคิดและการให้เหตุผลของเด็ก
เกิดเมื่อปี 1896 ณ ประเทศสวิสเซแลนด์
เริ่มทำการสังเกตพฤติกรรมบุตรทั้ง 3 คน
แนวคิดของทฤษฎี
พัฒนาการทางความคิดก็จะดำเนินไปอย่างมีลำดับขั้น
พัฒนาการทางร่างกายและการรับรู้ดำเนินต่อเนื่องกันไป
พัฒนาการเป็นสิ่งที่มีอยู่แล้ว ไม่คงที่และมีวิวัฒนาการ
การแบ่งขั้นพัฒนาการ
ขั้นที่ 2 ขั้นของการคิดก่อนปฏิบัติการ 2-7 ปี
ขั้นย่อยที่1 ขั้นการคิดก่อนมีมโนทัศน์ อายุ 2-4 ปี ระยะนี้เริ่มมีการใช้เหตุผมบ้าง
ขั้นที่ 2 แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอนย่อย ได้แก่
ขั้นย่อยที่2 ขั้นการคิดด้วยการกยั่งรู้ อายุ 4-7 ปี มีการใช้เหตุผมมากขึ้น มีพฤติกรรมเลียนแบบคนที่โตกว่า
พฤติกรรม
เริ่มสร้างจินตนาการโดยยึดตนเอง (ego) มีเหตุผลและมีการแสดงปฏิกิริยาต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น
ขั้นที่ 3 ขั้นของความคิดเชิงรูปธรรม 7-10 ปี
เริ่มรู้จักมิติต่างๆ เช่น กว้าง ยาว ลึก เริ่มเข้าใจเหตุผลและการเปรียบเทียบ
พฤติกรรม
เด็กต้องการเรียนรู้จริงโดยการฝึกคิดในการปฏิบัติหาเหตุผลมาใช้แก้ปัญหา
ขั้นที่ 1 ขั้นความคิดในระดับประสาทสัมผัส 0-24 เดือน
มี 6 ขั้นตอนย่อย
ขั้นที่ 3 ปกิกิริยาวงกลมขั้นที่สอง อายุ 4-8 เดือน ใช้อวัยวะรับสัมผัสหรืออวัยวะมอเตอร์หลายๆอย่างรวมกัน
ขั้นที่ 4 ความสัมพันธืของโครงสร้างความคิดชั้นที่สอง อายุ 8-12 เดือน เด็กจะนำเอา schema ที่ได้มาจากขั้นตอนก่อนมาประยุกต์ใช้
ขั้นที่ 2 ปฏิกิริยาวงกลมขั้นแรก อายุ 1-4 เดือน
เริ่มเกิด
*schema
เป็นตัวช่วยเลือกประสบการณ์ต่างๆ schema เริ่มเรียนรู้เริ่มแรกจาก บิดา-มารดา
ขั้นที่ 5 ปฏิกิริยาวงกลมขั้นที่สาม อายุ 12-18 เดือน เป็นระยะเริ่มคิดอย่างมีเหตุผล
ขั้นที่ 1 การแสดงปฏิกิริยาสะท้อนอายุ 0-1 เดือน
ขั้นที่ 6 การเริ่มต้นของความคิด อายุ 18-24 เดือน เกิดการเรียนรู้แบบการกยังรู้ (รู้ เข้าใจ แต่ไม่สามารถอธิบายได้)
พฤติกรรม
ความสามารถทางการเคลื่อนไหวด้วยระบบประสาทสัมผัสของกล้ามเนื้อสู่สิ่งที่ต้องการ
ขั้นที่ 4 ขั้นของความคิดเชิงนามธรรม 11-15 ปี
เป็นระยะสิ้นสุดวัยเด็ก
เริ่มมีการคิดวิเคราะห์แบบปัญญา การวิเคราะห์แบบเชื่อมโยง เช่น ทำไมถึงสอบตก สาเหตุคืออะไร จะแก้ไขอย่างไร
การคิดเป็นการหาเหตุผลตั้งสมมติฐาน เมื่อมีเหตุการณ์ใดเกิดขึ้นจะหาสาเหตุที่เป็นไปได้หลายๆอย่าง
พฤติกรรม
วัยรุ่นเริ่มใช้ความคิดเป็นระบบในการพิจารณาแก้ปัญหาด้วยความมีเหตุผลและผลอย่างสร้าสรรคื
สรุป
ขั้นความคิดเชิงรูปธรรม
7-10 ปี
2.การทรงสภาพเดิมของสสาร
-บอกได้ว่าของเหลวของแข็งคงที่แม้เปลี่ยนรูปร่าง
1.ภาพในสมอง
-วาดภาพคิดในใจได้ เช่น วาดแผนที่ไป รร
ขั้นการคิดด้วยการหยั่งรู้ 4-7 ปี
1.ภาพในสมอง
-พาไปได้แต่อภิบายทางไม่ได้
2.การทรงสภาพเดิมของสสาร
-ยังไม่เข้าใจเรื่องการคงสภาพเดิม
ขั้นการคิดด้วยการหยั่งรู้ 4-7 ปี
3.คำที่แสดงความสัมพันธ์กัน
-ยังไม่เข้าใจในการเปรียบเทียบภาษาจะเน้นการแสดงความเห้นตนเองเป็นส่วนใหญ่
4.การจัดกลุ่มหรือการรวมหมู่
-ยังไม่สามารถบอกเหตุผลของการแบ่งได้
ขั้นการคิดด้วยการหยั่งรู้ 4-7 ปี
5.การเรียงลำดับ
-ไม่สามารถทำได้
6.สติปัญญา
-ขึ้นจากสิ่งที่รับรู้จากภายนอกไม่สามารถตั้งกฎเกณฑ์ที่จะอธิบายสิ่งต่างๆ
ขั้นความคิดเชิงรูปธรรม
7-10 ปี
3.คำที่แสดงความสัมพันธ์กัน
-เข้าใจการเปรียบเทียบ
4.การจัดกลุ่มหรือการรวมหมู่
-สามาถรตั้งเกณฑ์ที่จะแบ่งหมวดหมู่ได้ เช่น สุนัข แมว
ขั้นความคิดเชิงรูปธรรม 7-10 ปี
5.การเรียงลำดับ
-สามารถทำได้
6.สติปัญญา
-พัฒนาอย่างรวดเร็ว สามารถเข้าใจการทรงสภาพเดิมของสสารการแบ่งหมวดหมู่
ทฤษฎีสติปัญญานิยมของโคลเบอร์ก
ลอร์เรนซ์ โคล์เบอร์ก ได้พัฒนาทฤษฏีขึ้นจากกรอบแนวคิดทฤษฏีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจท์
โคล์เบอร์ก จัดเป็นนักจิตวิทยากลุ่มพุทธิปัญญา
-พัฒนาการทางจริยธรรมจะพัฒนาเป็นลำดับขั้นที่เเน่นอน โดยเริ่มจากขั้นต่ำสุด ไม่มีการย้อนกลับหรือข้ามขั้น
-พัฒนาการทางจริยธรรมพันธ์ทางบวกกับพัฒนาการทางพุทธิปัญญา
-พัฒนาการทางจริยธรรมเป็นกระบวนการปฏิสัมพันธ์ ระหว่างพัฒนาการของมนุษย์กับการเรียนรู้ทางสังคม
-พัฒนาการทางจริยธรรมมีความเป็นสากล
การแบ่งขั้นพัฒนาการ มี 3 ระดับ
ระดับที่ 2 ระดับมีจริยธรรมตามกฏเกณฑ์ของสังคม อายุ 10-16 ปี
เริ่มใช้กฎเกณฑ์ต่างๆ เป็นตัวกำหนดความถูก ความดี ความควรไม่ควร จริยธรรมในระดับนี่แบ่งออกได้ 2 ชั้น
ขั้นที่ 3 ความคาดหวังและการยอมรับของกลุ่มอายุ 10-13 ปี
บุกคลจะมีเหตุผลในการเลือกกระทำ โดยคำนึงถึงกฎเกณฑ์ของสังคม การยอมรับจากบิดา มารดา และบุคคลรอบข้าง
ขั้นที่ 4 กฎระเบียบของสังคม อายุ 13-16 ปี
บุคคลจะมีเหตุผลในการเลือกทำพฤติกรรม โดยยึดถือระเบียบ ประเพณี กฎหมาย หรือกฎเกณฑ์ที่สังคมกำหนดไว้
ระดับที่ 3 ระดับมีจริยธรรมเหนือกฏเกณฑ์ อายุ 16 ปีขึ้นไป
มีการพิจารณาไตร่ตรองด้วยวิจารณญาณแล้วตัดสินใจด้วยตนเองตามค่านิยมที่ตนยึดถือ สิ่งที่ดี สิ่งที่ถูกต้อง ระดับรี้แบ่งเป็น 2 ขั้น
ขั้นที่5 สัญญาสังคม อรรถประโยชน์ และสิทธิส่วนบุคคล
บุคคลมีเหตุผลในการเลือกทำพฤติกรรมใดโดยยึดหลักประโยชน์ของคนหมู่มากสิทธิส่วนบุคคล และเป็นที่ยอมรับของสังคมโดยรวมเหตุผมจริยธรรมในชั้นนี้จะมีความยืดหยุ่น สามารถปรับเปลี่ยนได้
ขั้นที่ 6 อุดมคติสากล
เป็นจริยธรรมขั้นสูงสุด พบในวัยผู้ใหญ่ที่มีความเจริญทางพุทธิปัญญา การให้เหตุผลในการเลือกทำหรือไม่ทำพฤติกรรมใดจะเกิดจากการพิจารณาไตร่ตรองโดยยึดหลักอุดมคติสากล
พัฒนาการในขั้นนี้ของบุคลถือเป็นจริยธรรมขั้นสูงสุด บุคคลจะมีจิตสำนึกต่อการดีอย่างมั่นคงด้วยตนเองแม้จะไม่มีใครเห็นก็ตาม
ระดับที่ 1 ระดับก่อนมีจริยธรรมอย่างมีเหตุผม อายุ 2-10 ปี
ขั้นที่ 1 การเชื่อฟังและการถูกลงโทษ อายุ 2-7 ปี
เด็กจะไม่เลือกทำพฤติกรรม ไม่ดี และเลือกทำพฤติกรรม ดี คือทำสิ่งที่ไม่ฝ่าฝืนเกณฑ์ที่ผู้มีอำนาจกำหนดไว้ เพื่อให้ได้รางวัล
ขั้นที่ 2 การตอบสนองความพอใจของตนเอง อายุ 7-10 ปี
เลือกทำในสิ่งที่ทำให้ตนสนใจและได้รับความพอใจ
Kohlberg: พัฒนาการทางจริยธรรม
ระดับของจริยธรรม มี 3 ระดับ
ระดับตามกฎเกณฑ์
ขั้นการให้เหตุผลเชิญจริยธรรมมี 2 ขั้น
ขั้นที่ 3 หลักการทำตามผู้อื่นที่เห็นชอบ
ขั้นที่ 4 หลักการทำตามหน้าที่สังคม
ระดับเหนือกฎเกณฑ์
ขั้นการให้เหตุผลเชิญจริยธรรมมี 2 ขั้น
ขั้นที่ 5 การเค่รพตนเองและการคงไว้ซึ่งการเคารพผู้อื่น บุคคลต้องปฏิบัติตามกฎหมาย
ขั้นที่ 6 หลักการยึดอุดมคติ
ระดับกฎเกณฑ์
ขั้นการให้เหตุผลเชิญจริยธรรม
มี 2 ขั้น
ขั้นที่ 1 หลักการหลบหลีกการลงโทษ
ขั้นที่ 2 หลักการแสวงหารางวัล