Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.4 ความผิดปกติของการหายใจ - Coggle Diagram
5.4 ความผิดปกติของการหายใจ
การเปลี่ยนแปลงการทำงานของปอดในระยะตั้งครรภ์
โปรเจสเตอโรนเพิ่มขึ้นตอบสนอง central chemoreceptor ไวขึ้น
อัตราการหายใจเพิ่มขึ้น
:red_flag: CO2 เพิ่มขึ้น PCO2 ในหลอกเลือดแดงลดลง
เกิด respirtory alkalosis ขับทาปัสสาวะมากขึ้น
ระดับของ PCO2 และ pH จึงจะปกติ
ขับ bicarbonate ทางไตเพิ่ม
การเปลี่ยนแปลงทางกายวิภาคของระบบทางเดินหายใจ
:red_flag: GA 24 wks. จะเปลี่ยนจากการใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องเป็นกล้ามเนื้อหน้าอก Total body oxygen consuption เพิ่มร้อยละ 20
กระบังลมจะถูกมดลูกดันให้เลื่อนสูงขึ้น 4 cms.
ทรวงอกมีการขยายทางด้านกลางเส้นผ่านเส้นศูนย์กลางทรวงอกเพิ่ม 2 cms. เส้นรอบวงเพิ่ม 6 cms.
หอบหืดในหญิงตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
หายจลำบาก/แน่นหน้าอก หายใจมีเสีย wheezing เหงื่อออกมาก
RR มากกว่า 35 ครั้ง/นาที, HR มากกว่า 120 ครั้ง/นาที
มีอาการไอเรื้อรัง(มากกว่า 8 wks.)
ผลกระทบ
ผลของการตั้งครรภ์ต่อโรค
ช่วงแรก :red_flag: หัวใจทำงานหนักขึ้นเนื่องจากปริมาณน้ำหนักตัวและน้ำในร่างกายเพิ่มขึ้นจะพบหายใจลำบาก
ช่วงหลัง :red_flag: จะมีปริมาตรอากาสเหลือค้างในปอดการแลกเปลี่ยนก๊าซไม่สมบูรณ์
ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์
ด้านมารดา
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ตกเลือด
asthmatic attack
ด้านทารก
Pre-term
LBW.
IUGR
ตายปริกำเนิด
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
รับประทานยาตามแผนการรักษา
นับและบันทึกลูกดิ้น
หลีกเลี่ยงอากาสเย็นหรือร้อน
รับประทานอาหารเน้นโปรตีน
ฝากครรภ์ตามนัด
ระยะหลังคลอด
ได้รับยารักษาโรคหอบหืดอย่างต่อเนื่อง
เน้นการป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
ส่งเสริมการเลี้ยงบุตรนมมารดา
ระยะคลอด
ดูแลให้ออกซิเจนเมื่อหอบ
รับยาตามแผนการรักษา
จัดท่านอนศีรษะสูง
ประเมินลักษณะการหายใจ ชีพจร สีเล็บ
วัณโรคปอดในหญิงตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
ไอเรื้อรังมากกว่า 3 wks.
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร นน.ตัวลดลง
ไอแห้งๆในะยะแรก ระยะต่อมามีเสมหะมูกปนหนองไอมากขึ้นเวลาเข้านอนหรือตื่นนอนตอนเช้า
ไข้ตอนบ่าย เหงื่อออกตอนกลางคืน
การวินิจฉัย
Tuberculin skin test :warning: ไม่แนะนำตรวจในหญิงตั้งครรภ์และให้นมบุตร
X-ray ปอด
ซักประวัติ
การส่งตรจเสมหะ
Acid fast bacilli staining
Culture for mycobacterium tuberculosis
PCR
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
จัดสิ่งแวดล้อมในบ้านให้อากาสถ่ายเท
สวมผ้าปิดปากป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
แนะนำรบประทานอาหารโปรตีนสูง เพิ่มธาตุเหล็ก
ฝากครรภ์ตามนัด
แนะนำรับประทานยาตามแผนการรักษา ยาสูตร 2HRZE/4HR
ระยะคลอด
ดูแลให้อยู่ห้องแยก พักผ่อนให้เพียงพอ
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์และความก้าวหน้าของการคลอด
ระยะหลังคลอด
:<3:ทารกแรกเกิดตรวจ Tuberculin skin test พร้อมให้ยา INH และ rifampicin หลังคลอดทันที
ทารกได้รับ BCC
แยกทารกออกจากมารดาจนผลการเพาะเชื้อมารดา -ve
Covid-19
การดูแลมารดา
กลุ่มเสี่ยง
งดออกชุมชน
พิจารณาเลื่อนฝากครรภ์
แยกกักตัวสังเกตอาการ 14 วัน
กรณีเจ็บครรภ์คลอดไปรพ.ทันที
กลุ่มปกติ
งดใช้ของส่วนตัวร่วมกับผู้อื่น
ล้างมือบ่อยๆ
รับประทนอาหารที่ปรุงสุกใหม่
ไอจาม ปิด ปาก
เลี่ยงการใช้มือสัมผัสบริเวณดวงตา ปาก และจมูก
ไข้ ไอ เจ็บคอ หายใจเหนื่อย :red_flag:ไปพบแพทย์
รักษาระยะห่าง
ฝากครรภ์ตามนัด
หลีกเลี่ยงการสัมผัส
การดูแลทารก
แยกตัวออกจากทารกอื่น
อธิบายความเสี่ยงให้มารดาเข้าใจ