Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีที่มีโรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การพยาบาลสตรีที่มีโรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์
AIDS : Acquired immune deficiency syndrome
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
ร่วมเพศกับผู้ติดเชื้อหรือใช้เข็มฉีดยาร่วมกับผู้ติดเชื้อรวมทั้งมีอาการทางคลินิกของการติดเชื้อ
การตรวจร่างกาย
มีไข้ ต่อมน้ำเหลืองโต นน.ลด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
่ Enzyme–linked
Immunosorbent assay (ELIS
การตรวจยืนยันด้วยการตรวจ confirmatory test เช่น Western Blot(WB)และ Immunofluorescent assay (IFA)
S&S
กลุ่ม2 กลุ่มอาการคล้ายAIDS คือ ไข้ ปวดเมื่อยตามตัว อ่อนเพลีย ผื่นตามตัว ปวดศีรษะ เจ็บคอ ผลCD4<500-2000
กลุ่ม3 กลุ่มอาการสัมพันธ์กับAIDS ไข้สูงเฉียบพลัน ไข่ต่ำๆ2-3เดือน ปวดศีรษะ เจ็บคอ N/V ต่อมน้ำเหลืองโตทั่วไป ท้องเดินเรื้อรัง นน.ลด ตรวจพบเยื่อหุ้มสมองอักเสบชนิดไร้เชื้อร่วมด้วย
กลุ่ม1 เป็นกลุ่มที่ไม่มีอาการทางคลินิก มีเพียงการตรวจ Elisaให้ผลลบ
การติดต่อ
จากมารดาสู่ทารก (vertical transmission)
พบว่า ในหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอดส์และไม่ได้รับการรักษา
ทารกในครรภ์จะมีโอกาสติดเชื้อ 15-20%
จากการรับเลือดหรือส่วนประกอบของเลือดที่มีเชื้อเอดส์
การใช้เข็มฉีดยาร่วมกันในผู้ติดยาเสพติด (IV drug users)
การมีเพศสัมพันธ์ที่เสี่ยงมากที่สุดคือ การร่วมเพศทางทวารหนัก ในปัจจุบันพบว่า ทําให้เอดส์แพร่เชื้อมากที่สุด
การรักษา
ยากลุ่ม Non-nucleoside analogues reverse transcriptase inhibitor
nevirapine
delarvirdine
efavirenz
ยากลุ่ม Protease inhibitors
amprenavir
indinavir
ritonavir
saquinvir
nelfinavir
ยากลุ่ม Nucleoside analogues reverse transcriptase inhibitor
Azidothymidine (AZT) / zidovudine (ZD)
zalcitabine
didanosine (DDI)
stavudine (d4)
lamivudine (3TC)
abacavir
การพยาบาล
ระยะคลอด
เลี่ยงการทำให้ถุงน้ำแตกหรือรั่ว ทำคลอดยึดหลัก UP
ระยะหลังคลอด
ในทารกหลังคลอดให้ NVP 2mg/kg ทันที และให้ AZT 2mg/kg/day และติดตามตรวจหาการติดเชื้อในทารกหลังคลอด 12-18เดือน ถ้าไม่พบ HIV-antibody จึงจะถือว่าทารกไม่ติดเชื้อ ถ้ายังตรวจพบ เเสดงว่าทารกติดเชื้อ
เน้นให้มาตรวจหลังคลอดตามกําหนดและแนะนําวิธีการคุมกําเนิดที่มีประสิทธิภาพเช่น การทำหมัน
ให้อยู่ในห้องแยก แนะนำการลดการแพร่เชื้อสู่ผู้อื่น
งดให้นมบุตร เพราะทารกอาจติดเชื้อจากทางน้ำนมได้
ระยะตั้งครรภ์
ให้ความเห็นใจและให้กำลังใจผู้ป่วยและแนะนําการปฏิบัติตัวในการรักษาสุขภาพตนเองและป้องกันการแพร่เชื้อในครอบครัวควรให้สามีมารับคําแนะนําปรึกษาด้วย
ตรวจหาระดับCD4 ถ้า<400 cell/mm3 อาจพิจารณาให้prophylaxis pneumocystis carinii pneumonia (PCP)
ให้ AZT โดยให้ 300mg วันละ2ครั้ง ตั้งแต่GA28wksจนคลอด ในระหว่างเจ็บครรภ์คลอดเริ่มให้ AZT 300mg q 3hr ไปจนคลอดก็ให้หยุดยา อาจให้Nevirapine (NVP) 200mg ครั้งเดียวก่อนคลอด
การให้ยาต้านไวรัสในทารกแรกเกิด
AZT ขนาด 4 mg/kg/dose q 12hrs ให้ต่อเนื่อง4wks
การให้ยาต้านไวรัสหลังคลอด
คู่ผลเลือด - หรือไม่ทราบผล
มีการติดเชื้อร่วม เช่น วัณโรค HBV HCV
CD4 < 500 cells /mm3
การให้ยาต้านไวรัสระหว่างเจ็บครรภ์คลอด
หากคลอดโดยการผ่าตัดให้กินยาก่อนเริ่มผ่าตัดอย่างน้อย 4hrs
ในรายที่ viral load < 50 copies/ml ไม่ต้องให้ยาระหว่างเจ็บครรภ์
ให้เพิ่ม AZT 300mg q 3hrs หรือAZT 600mg ครั้งเดียวไม่ว่าจะใช้ยาสูตรใด
หลีกเลี่ยงการให้ยา Methergine เนื่องจากจะทําให้หญิงทีกินยาLPV/r หรอื EFV อยู่เกิด severe vasoconstriction
การให้ยาต้านไวรัสขณะตั้งครรภ์
กรณีที่1 หญิงตั้งครรภ์ไม่เคยได้รับยาต้านไวรสัมาก่อน
TDF + 3TC + EFV โดยแนะนําให้ยาต่อหลังคลอดทุกราย
2 AZT + 3TC + LPV/r หรือ TDF + 3TC + LPV/r
ในกรณีที่ดื้อยากลุ่ม NNRTIsหรือจําเป็นต้องหยุดยาหลังคลอด
กรณีที่2 หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาต้านไวรสัมาก่อน ไม่ต้องหยุดยา
ควรใช้สูตรยาที่ทําให้viral load ลดลงจนวัดไม่ได้จะดีที่สุด
หากพบวา่ viral load มากกวา่ 1000 copies/ml ทั้งที่กินยาสม่ำเสมอนาน 6 เดือน ให้ส่งปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ
ไวรัสตับอักเสบบี(Hepatitis B)
S&S
มีไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร N/V ปวดท้อง ปัสสาวะสีเข้ม อุจจาระสีซีด ปวดข้อ หากรุนแรงจะมีตัว-ตาเหลือง
สามารถแพร่กระจายได้ทั้งในน้ำตา น้ำมูก อสุจิ เยื่อเมือกช่องคลอด น้ำคร่ำ
ผลต่อการตั้งครรภ์
ต่อทารก
อัตราเสียชีวิตมากขึ้น
APGAR score ต่ำ
อาจเพิ่มอัตราเลือดออกใรสมอง
preterm
น้ำเดินก่อนคลอด
abortion
ตายคลอด
ต่อมารดา
โอกาสเกิด GDM
Hypertension
bleeding per vargina
แนวทางการรักษา
ระยะก่อนการคลอด
พิจารณาความจําเป็นในการให้ยาต้านไวรัสจาก HBeAg
Tenofovir Disoproxil Fumarate (TDF) 300 mg วันละ 1ครั้ง ให้จนถึง 4wksหลังคลอด
Lamivudine 100mg ร่วมกับ HBIg ในwkที่32
ควรเลี่ยงการทำสูติศาสตร์หัตถการโดยไม่จำเป็น
ระยะหลังคลอด
ด้านมารดาควรรับประทานTenofovir Disoproxil Fumarate (TDF) 300mg วันละ1ครั้งจนถึง 4wksหลังคลอด เมื่อหยุดยา TDF หลังคลอด 6-8wks ควรตรวจดูระดับ ALT ถ้า>Upper normal limit ใหส่งต่ออายุรแพทย์
ด้านทารก ยึดหลัก UP ในมารดาที่ติดเชื้อแต่ผลเลือด มีanti HBV น้อยกว่า10IU/m
Hepatitis B immunoglobulin (HBIG) 400IU 0.5ml IMทันที/ภายใน 12hrs.หลังคลอด ภายใน7days และให้ซ้ำภายใน 1,6เดือน
Hepatitis B Vaccine ภายใน 12hrs.หลังคลอด 0.5ml. IM หลังจากนั้น ฉีดต่อเนื่องเมื่ออายุครบ 1,2,4และ6เดือน
กรณีทารกมมีน้ำหนัก<2,000g.สามารถฉีดวัคซีนได้ทันที โดยให้นับเป็นการฉีดเข็มพิเศษไม่นับเป็นเข็มแรก แล้วใหฉีดเข็มถัดไปเมื่อทารกมีสุขภาพแข็งแรง อายุครบ 1เดือนให้เริ่มนับเป็นเข็มที่1 แล้วฉีดเข็มที่2 ห่างจากเข็มแรกอย่างน้อย 4wks และเข็มที่3 ห่างจากเข็มที่ 2 อย่างน้อย 8wks (0-1-2-4)
บทบาทพยาบาล
ระยะคลอด
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัสเลือด สารคัดหลั่ง โดยใช้หลักUP ทั้งในระยะรอคลอดและขณะคลอด
ดูแลให้การคลอดดำเนินไปปกติ เช่น ติดตามความก้าวหน้าการคลอด ไม่กระตุ้นเกินไป ประเมินFHS ดูแลความสุขสบาย
ดูแลทารกโดยการใช้หลัก UP ในการจับหรืออุ้มทารก การดูดมูกจากปากและจมูกอย่างรวดเร็ว การทําลายผ้าอ้อม และก่อนฉีดวัคซีนต้องทําความสะอาดผิวทารกด้วยน้ำและสบู่และเช็ดซ้ำด้วยแอลกอฮอร์
ระยะหลังคลอด
ให้คำแนะนำการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อเกี่ยวกับน้ำคาวปลาและสิ่งคัดหลั่ง
ประเมินภาวะหัวนมแตก ส่งเสริมการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาอย่างเดียว 6เดือน
แนะนำกาคุมกำเนิดและวางแผนครอบครัวอย่างเหมาะสม แนะนำสามีภรรยาตรวจสุขภาพประจำปี และตรวจเลือดในการตั้งครรภ์ครั้งต่อไป
แนะนำการปรับตัวด้านจิตสังคม การผ่อนคลาย
ระยะตั้งครรภ์
คัดกรอง ซักประวัติ
ส่งตรวจเลือดหา HBsAg
ให้คำแนะนําการปฏิบัติตัวกรณีที่มีการติดเชื้อ เพื่อป้องกันการแพร่กระจายและความรุนแรงของโรค
หัดเยอรมัน (Rubella, German measles)
S&S
ระยะก่อนออกผื่น
มักไม่ออกอาการ ส่วนมากจะไข่ต่ำๆ ปวดศีรษะ ตาแดง คออักเสบ ปวดกล้ามเนื้อก่อนออกผื่น 1-2วัน จะพบจุดขาวเหลืองขนาดเล็กคล้ายๆเม็ดงาที่กระพุงแก้มบริเวณใกล้กับฟันกรามล่างเรียกว่า Koplik's spot เป็นลักษณะเฉพาะ และเมื่อผื่นขึ้นจุดนี้จะหายไป โดยผื่นมักกระจายตัวไม่อยู่เป็นกระจุก เมื่อผื่นหายมักไม่ค่อยทิ้งรอย มีแต่อาการคัน
ระยะออกผื่น
ผื่นขึ้นหลังมีไข้3-4วัน จะมีผื่นแดงเล็ก (erythematous maculopapular) มีตุ่มนูน ผื่นแดงหรือชมพูขึ้นที่ใบหน้าก่อนจะลามลงมาตามผิวหนังส่วนอื่นๆ ค่อยๆหายไปภายใน 3วัน
complications
หูหนวก
หัวใจพิการ
Congenital rubella syndrome:CRS
cataract
การวินิจฉัย
ซักประวัติการสัมผัสโรค ตรวจผื่นตามร่างกาย
Saliva & Blood Test
การรักษา
สําหรับหญิงตั้งครรภ์ในระยะ 3 เดือนแรก แพทย์จะแนะนําให้ยุติการตั้งครรภ์ ในรายที่ไม่ต้องการยุติ แพทย์อาจพิจารณาฉีด Immunoglobulin ให้แก่ผู้ป่วย ซึ่งไม่สามารถป้องกันการติดเชื้อของทารกในครรภ์ได้ แต่สามารถช่วยลดความรุนแรงของโรค
การรักษาแบบประคับประคอง
แนะนําพักผ่อนให้เพียงพอ
แนะนำดื่มน้ำให้เพียงพอ จิบบ่อยๆ
ถ้ามีไข้ให้ทานยา Paracetamolตามแพทย์สั่ง
ซิฟิลิส (Syphilis)
การวินิจฉัย
การตรวจเลือด
ตรวจCSF
S&S
primary syphilis
หลังได้เชื้อ 10-90วัน เริ่มมีแผลริมแข็ง ตุ่มแดงที่อวัยวะเพศ ริมขอบนูนไม่เจ็บ ต่อมน้ำเหลืองโตไม่กดเจ็บ แผล1-5wksจะหายไปเอง
secondary syphilis
ออกผื่นในช่วง2-3wks หลังจากแผลริมแข็งหาย ผื่นที่ขึ้นเป็นสีแดงน้ำตาลไม่คัน พบทั่วตัว ฝ่ามือฝ่าเท้า อาจมีไข้หรือปวดตามข้อจากการเกิดข้ออักเสบ ต่อมน้ำเหลืองโต ผมร่วง
latent syphilis
หลังจากได้รับเชื้อ 2-30ปี เป็นช่วงไม่มีอาการ
tertiary or late syphilis
หลังได้รับเชื้อ2-30ปี เชื้อทำลายอวัยวะภายใน
complications
preterm
IUGR
ทารกตาบอด
ทารกบวมน้ำ
เสี่ยงต่อ abortion หลัง GA 16wks
การรักษา
ระยะต้น
ให้ Benzathine penicillin G 2.4 mUIM ครั้งเดียว แบ่งฉีดที่สะโพก
ข้างละ 1.2 mU อาจลดอาการปวด โดยผสม 1% Lidocaine 0.5-1ml
ระยะปลาย
ให้ Benzathine penicillin G 2.4 mUIM weekละครั้ง นาน3wks แบ่งฉีดที่สะโพก ข้างละ 1.2 mU อาจลดอาการปวด โดยผสม1% Lidocaine 0.5-1ml
การพยาบาล
ระยะคลอด
เน้นหลัก UP ป้องกันการติดเชื้อโดยรีบดูดเมือกออกจากจมูกปากโดยเร็ว และเจาะเลือดจากสายสะดือส่งตรวจการติดเชื้อ
ระยะหลังคลอด
ให้นมมได้ปกติ ล้างมือก่อนหลังสัมผัสทารก
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำรักษาความสะอาดที่อวัยวะเพศ ป้องกันโดยการสวมถุงยางอนามัย
ดูแลให้ได้ATB ตามแผนการรักษา
ตรวจครั้งแรกเมื่อฝากครรภ์ครั้งแรก และตรวจซ้ำในไตรมาส3
แนะนำพาสามีมาตรวจรักษา ป้องกันการติดซ้ำ
ปรึกษาดูแลด้านจิตใจ
โรคอุบัติใหม่
COVID-19
การดูแลหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดกลุ่มปกติ
รักษาระยะห่างจากบุคคลอื่น1-2เมตร
ทานอาหารปรุงสุกใหม่
เลี่ยงการใช้มือสัมผัสหน้า ตา จมูก ปาก
แยกภาชนะ เลี่ยงการใช้ของร่วมผู้อื่น
ล้างมือบ่อยๆด้วยสบู่และน้ำสะอาด หรือใช้ 70% alcohol gel
หากไม่ได้สวมหน้ากากอนามัย หากไอจามให้ทำใส่ข้อพับ
มารดาที่อยุ่ในพื้นที่เสี่ยงการติดเชื้อ หากมีอาการป่วยเล็กน้อยควรพักผ่อนอยุ่ที่บ้าน หากอาการมากขึ้นให้ไปพบแพทย์
สามารถฝากครรภ์ได้ตามนัด
เลี่งการใกล้ชิดหรือสัมผัสผู้ที่มีอาการไข้ ไอ เดินทางมาจากต่างประเทศกลุ่มเสี่ยง เลี่ยงการอยู่ในที่แออัด
การดูแลหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดกลุ่มเสี่ยง
แยกกักตัว14วัน งดใช้ของร่วมกับผู้อื่น
งดออกไปที่ชุมชน งดการพูดคุยหรือใกล้ผู้อื่นระยะ<2เมตร
กรณีเจ็บครรภ์คลอดต้องไปรพ.ทันที และแจ้งเจ้าหน้าที่ว่าอยู่ในระยะกักตัว14วัน
แจ้งเจ้าหน้าที่ว่าอยู่ในระยะกักตัว ขอเลื่อนการนัดฝากครรภ์
การดูแลทารกแรกเกิด กรณีมารดาสงสัยติดเชื้อหรือติดเชื้อ
ทารกที่มารดาติดเชื้อ จัดอยู่ในกลุ่มเสี่ยง ต้องแยกกักตัว14วัน
ยังไม่มีหลักฐานการติดต่อผ่านรกหรือน้ำนม
บุคลากรควรอธิบายเหตุผลการแยกตัว และอธิบายการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
ข้อแนะนําการปฏิบัติตัว
ผู้ที่สงสัยว่าจะติดเชื้อหรือติดเชื้อแต่อาการไม่มาก
ต้องปฏิบัติตามแนวทางการป้องกันการติดเชื้ออย่างเคร่งครัด
กอดลูกและให้นมจากเต้าได้
ข้อปฏิบัติในการบีบน้ำนมและป้อนนม
ล้างมือให้สะอาดบ่อยๆด้วยสบู่และน้ำสะอาด หรือใช้ 70% alcohol gel
สวมmaskตลอดเวลาที่เตรียม บีบนม และให้นม
อาบน้ำทำความสะอาดเต้านมและหัวนมด้วยน้ำสะอาดและสบู่
งดการสัมผัสใบหน้าตนเองและทารก หรือหอมแก้ม
ให้ญาติที่ร่างกายแข็งแรง ทราบวิธีการป้อนนมที่ถูกต้อง และปฏิบัติตามวิธีการป้องกันตนเองอย่างเคร่งครัด ป้อนโดยการใช้ช้อนหรือถ้วยเล็ก
ล้างทำความสะอาดอุปกรณ์ทุกอย่างด้วยน้ำยา และนึ่งฆ่าเชื้อทุกครั้ง
ผู้ที่ติดเชื้ออาการรุนแรง
ล้างมือให้สะอาดบ่อยๆด้วยสบู่และน้ำสะอาด หรือใช้ 70% alcohol gel
สวมmaskตลอดเวลาที่ให้นมลูก
งดการสัมผัสใบหน้าตนเองและทารก หรือหอมแก้ม
อาบน้ำทำความสะอาดเต้านมและหัวนมด้วยน้ำสะอาดและสบู่
การติดเชื้อไวรัสซิก้า (Zika fever)
complications
ศีรษะเล็กแต่กำเนิดของทารกในครรภ์
การป้องกัน
ป้องกันยุงกัดและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง
การวินิจฉัย
ซักประวัติ อาการ การเดินทาง ลักษณะที่อยู่อาศัย
ส่งน้ำคร่ำ และเลือดจากสะดือทารกส่งตรวจยืนยัน
การทดสอบทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจหา IgM IgG ต่อไวรัสซิก้า
ตรวจDNAที่ได้จากน้ำเหลือง
ตรวจหาพันธุกรรมของเชื้อด้วยวิธี Reverse Transcriptase
Polymerase Chain Reaction : RT-PCR)
การรักษา
ยังไม่มียารักษาโดยตรง คือการใหพักผ่อนอย่างเพียงพอ ดื่มน้ำในปริมาณ2-3ลิตรต่อวัน นอกจากการรักษาตามอาการ
S&S
มีระยะฟักตัว2-7วัน อาการไข้ ปวดศีรษะ ออกผื่นที่ลำตัวและแขนขา ปวดข้อ ปวดกระบอกตา เยื่อบุตาอีกเสบ
โรคเริมที่อวัยวะเพศ (Genital herpes simplex infection)
S&S
การติดเชื้อส่วนใหญ่เกิดจากการร่วมเพศ โดยจะเกิดเป็นกลุ่ม vesicles ที่ผิวหนังของอวัยวะเพศ มีอาการปวดแสบปวดร้อนมาก
อาการทางsystemic : ไข้ ปวดเมื่อยตามตัว ต่อมน้ำเหลืองโต อ่อนเพลียในรายติดเชื้อครั้งแรก
complications
ทารกที่ติดเชื้ออาจมีตุ่มน้ำใสๆ ตามร่างกาย ตาอักเสบ มีไข้หนาวสั่น ซึม ไม่ดูดนม ตับม้ามโต มีการอักเสบของปาก
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย
สังเกตเห็นตุ่มน้ำใส แตกจะเป็นแผลอักเสบ มีอาการปวดแสบปวดร้อนมาก ขอบแผลกดเจ็บและค่อนข้างแข็ง
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การเพาะเชื้อ
cytology โดยวิธี Tzanck smear
ซักประวัติ
ปัจจัยเสี่ยง ประวัติการสัมผัสผู้ติดเชื้อ S&Sของการติดเชื้อ เช่น ตุ่มน้ำใส เป็นๆหายๆ บริเวณเดิม ปวดแสบปวดร้อน ถ่ายปัสสาวะลําบาก
การรักษา
ให้ATB และดูแลแผลให้สะอาดในรายที่ติดเชื้อแผลไม่สะอาด
การให้ยา antiviral drug เช่น acyclovir, valacyclovir และ famciclovir
ในสตรีตั้งครรภ์ที่เจ็บครรภ์คลอดโดยที่มีHerpes lesion ควรได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องเพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้ทารกได้รับเชื้อจากการสัมผัสสิ่งคัดหลัง
การพยาบาล
ระยะคลอด
เน้นการใช้หลัก UP และหลีกเลี่ยงการทําหัตถการ เช่น การตรวจภายใน เจาะถุงน้ำ และต้องทําความสะอาดทารกทันทีหลังคลอด
ระยะหลังคลอด
ให้นมได้ปกติ แต่ต้องล้างมือให้สะอาดก่อนหลังสัมผัสทารก
ระยะตั้งครรภ์
ลดความไม่สุขสบายจากการปวดแสบปวดร้อน
ทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ พักผ่อนเพียงพอ ออกกําลังกายเป็นประจํา และตรวจสุขภาพประจําปี โดยเฉพาะการทํา pap smear
ดูแลการให้ยาต้านไวรสัตามแผนการรักษา
เลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ขณะมีแผล
ควรใช้ถุงยางอนามัย ป้องกันแพระกระจายเชื้อ
ลดความวิตกกังวลเกี่ยวกับการผ่าตัดและการแพร่เชื้อไปยังทารก ประคับประคองจิตใจ กระตุ้นให้ระบายความรู้สึก ให้ข้อมูลที่เป็นจริง รวมทั้งโอกาสเสี่ยงของการติดเชื้อไปยังทารก
หูดหงอนไก่ (Condyloma accuminata and pregnancy)
S&S
มองเห็นหูดขึ้นรอบๆและในทวารหนัก ลักษณะเป็นก้อนสีชมพูนุ่ม ผิวขรุขระ มีสะเก็ด มีขนาดที่แตกต่างกัน มักรวมกันเป็นก้อนใหญ่คล้ายดอกกะหล่ำ ตกขาวมีกลิ่นเหม็นและคัน ในการตั้งครรภ์จะพบมีการเพิ่มจํานวนอย่างรวดเร็ว เนื่องจากบรเิวณนี้มีเลือดมาเลี้ยงมาก จึงทําให้เชื้อเจริญเร็ว
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
ปัจจัยเสี่ยง ประวัติการสัมผัสผู้ติดเชื้อ S&Sของการติดเชื้อ
ตรวจร่างกาย
สังเกตเห็นรอยโรค ซึ่งเป็นติ่งเนื้อรอบรเิวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก รอบทวารหนัก ปากช่องคลอด สามารถช่วยประเมินสภาพได้ค่อนข้างแน่นอน
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
pap smear พบการเปลี่ยนแปลงที่เซลล์เป็น koilocytosis (halo cell)
การรักษา
รักษาด้วยสารเคมี
จี้ด้วย trichloroacetic acid 80-90% 1ครั้ง/wk
ห้ามใช้podophyllinหรือpodofilox เนื่องจากมีรายงานการเกิด early FDIUได้ ส่วน imiquimod ก็ไม่แนะนําให้ใช้ในหญิงตั้งครรภ์
การจี้ด้วยไฟฟ้า และ laser surge
คลอดทางช่องคลอดได้ แต่หากหูดขนาดใหญ่ขัดขวางช่องทางคลอด อาจเกิดการฉีกขาด ควรผ่าตัดคลอด
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับการรักษาตามแผนการรักษา เช่น จี้ด้วย trichloroacetic acid หรือ laser surge
แนะนำการรักษาความสะอาดบริเวณอวัยวะเพศ
แนะนำส่งเสริมสุขภาพให้แข็งแรง ทานอาหารที่มีประโยชน์ ออกกำลังกายที่เหมาะสม ลดภาวะเครียด สังเกตS&Sการติดเชื้อซ้ำ
ผลต่อการตั้งครรภ์
ทารกเป็น laryngeal papilloma