Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 7 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับ…
หน่วยที่ 7 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับ ระบบทางเดินหายใจ
โรคหวัด (acute rhinitis, acute nasopharyngitis, common cold)
สาเหตุ
:เกิดจากเชื้อไวรัส คือ Rhinovirus ภาวะแทรกซ้อน: หูชั้นกลางอักเสบ (พบบ่อย)
โรคคออักเสบ หรือทอนซิลอักเสบ (Pharyngitis/ tonsillitis/Pharyngotonsillitis)
ภาวะแทรกซ้อน:อาจพบการลุกลามของ เชื้อไปยังบริเวณ ใกล้เคียง ได้แก่ หูชั้นกลางอักเสบ แผลเรื้อรังในลำคอ ฝีรอบ ต่อมทอนซิล (peritonsillar abscess) ฝีที่ผนังคอ (retropharyngeal abscess) และการลุกลามไปทางเดิน หายใจสวนลาง หรือมีการติดเชื้อแบคทีเรียซ้ำ กรณีผ่าตัดต่อมทอนซิลให้การพยาบาลตามปัญหา เช่น เสี่ยงต่อการอุดกั้น ของทางเดินหายใจเนื่องจากมีเลือดหรือ เสมหะคั่งค้างอยู่ในทางเดินหายใจหลังจากการผ่าตัด และ เจ็บแผลผ่าตัดทำให้กลืนลำบาก
โรคตดิเชอื้ระบบทางเดินหายใจส่วนบน (upperrespiratory infection : URI) เป็นการ ติดเชื้อของระบบทางเดิน หายใจส่วนบน เริ่มตั้งแต่ช่องจมูกจนถึงกล่องเสียง/เหนือระดับ กล่องเสียงขึ้นมา
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
เชื้อโรค เช่น ความรุนแรงของเชื้อ ปริมาณของเชื้อที่ ได้รับ
คุณภาพการเลีย้งดูคุณภาพการเลีย้งดูเด็ก เช่น การได้รับนมมารดา และการได้รับภูมิคุ้มกันโรคตามวัย สามารถสร้างภูมิต้านทานโรค
ตัวเด็ก เด็กเป็นผู้มีความไวต่อการติดเชื้อสูง ระดับ ภูมิต้านทานน้อย
ด้านสิ่งแวดล้อม ฐานะ สภาพความเป็นอยู่
กิจกรรมการพยาบาล
จัดให้นอนตะแคงกึ่งควาหรือนอนศีรษะสูงประมาณ 30 - 45 องศา ตะแคงหน้าไป ด้านใดด้านหนึ่งจนกว่าจะรู้สึกตัวดี
ระยะหลังผ่าตัด 24 ชั่วโมงแรก ตรวจดูภายในล าคอบริเวณแผลผ่าตัดว่ามีเลือดออกหรือไม่ สังเกตสัญญาณชีพ การหายใจ ลักษณะการกลืนของเด็ก
ดูแลให้พักผ่อนและจำกัดกิจกรรมที่จะทำให้เลือดออก
แนะนำให้เด็กบ้วนน ้าลายลงในชามรูปไต ไม่ควร กลืนลงคอ
เมื่อเด็กรู้สึกตัวดีไม่คลื่นไส้อาเจียน ไม่มีเลือดออกจากแผล สามารถให้รับประทานอาหารได้ทันที ไม่ควรเป็นสีแดงและไม่ควร เป็นอาหารรสเปรี้ยว หรือน้ำผลไม้ หรือรสจัด ห้ามรับประทานอาหารแข็งหรือมีกากมาก นานประมาณ 1-2 สัปดาห์ เพราะจะทำให้แผลมี เลือดออกได้
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา ในระยะแรกเด็กจะเจ็บคอมาก อาจใช้ความ เย็นประคบรอบคอ
หลังการผ่าตัดระยะที่แผลยัง ไม่หายดียังต้องระมัดระวังการมีเลือดออก ควร ตรวจดูในลำคอด้วย โดยใช้ไฟฉายที่มีแสงสว่างเพียงพอ และสอดไม้กดลิ้นเข้าไปในปากอย่าง ระมัดระวัง
แนะนำการรักษาความสะอาดภายในช่องปาก และระมัดระวังการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ และกลับมาตรวจตามนัด
โรคตดิเชอื้ระบบหายใจส่วนล่าง (Lower respiratory tract infection : LRI)
สาเหตุ
การติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจส่วนล่าง เริ่ม ตั้งแต่ส่วนบนของหลอดลม กล่องเสียงลงไปถึงถุงลม ปอด
อาการ
ได้แก่ หลอดลมอักเสบ หลอดลมฝอยอักเสบ และปอดบวม
หลอดลมฝอยอักเสบ (Bronchiolitis)
การรักษา
การให้ออกซิเจน ควรให้เมื่อ SpO2 < 95% และหรือมีอาการ หายใจลำบาก โดยให้ออกซิเจนทาง nasal cannula, face mask หรือ head box ในปัจจุบันมีการศึกษาการให้ออกซิเจนด้วยวิธี heated humidified highflow nasal cannula (HHHFNC) ในผู้ป่วยที่มี อาการ ปานกลางถึงรุนแรง จะช่วยลดอัตราการใส่ท่อช่วยหายใจลง พิจารณาใส่ท่อช่วยหายใจในผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงเสี่ยงต่อภาวะหายใจ ล้มเหลว หยุดหายใจ ระดับการรู้สึกตัวลดลง หรืออาการไม่ดีขึ้น หลังการ รักษา การให้สารน้ำมีความสำคัญเด็กควรได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอ เนื่องจากมีไข้หายใจเหนื่อยหอบ และรับประทานไม่ได้หรือได้น้อย ใน ผู้ป่วยที่มีอัตราการ หายใจ > 60 ครั้ง/นาที และมีน้ำมูกมาก ต้องระวังการ สำลัก การให้ยารักษาตามอาการ เช่น ยาลดไข้ยาละลายเสมหะ
การให้ยา
หลอดลม ชนิดพ่นฝอยละออง (Bronchodilators) โดยให้ยา salbutamol หรือ terbutaline 0.05-0.15 มก./ กก./ครั้ง และเฝ้าระวัง ภาวะแทรกซ้อนจากยา เช่น หัวใจเต้นเร็ว สั่น (tremor) K+ ในเลือดต่ำหรือน้ำตาลในเลือดสูง
หลอดลมอักเสบ (Bronchitis)
อาการและอาการแสดง
มีอาการของการติดเชื้อของ ทางเดินหายใจส่วนบนน ามาก่อน เช่น มีไข้ต่ำๆ เป็นหวัด ตามด้วยอาการไอแห้งๆ
bronchi อาการไอ เป็นอาการเด่นที่สุดของโรคนี้โดยจะมีอาการในวันที่ 3-4 ระยะแรกจะไอมากในตอนกลางคืน ต่อมาจะไอรุนแรงขึ้น และมีเสมหะ จากนั้น 2-3 วันต่อมา เสมหะจะเปลี่ยนจากใส เป็นสีข้นเหมือนหนอง เจ็บหน้าอกเพราะไอมาก ถ้ามีการหด เกร็งของหลอดลมจะไอเป็นชุดๆอาการผู้ป่วยแต่ละรายจะมี ความรุนแรงและระยะเวลาการดำเนินโรคขึ้นกับชนิดของ เชื้อก่อโรคที่
สาเหตุ
จาก influenza virus จะมี ไข้ ไป อาจหนาวสั่น ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตาม ถ้าเกิดจาก การติดเชื้อ H. influenza มักมีไข้สูง ปวดกล้ามเนื้อร่วม แต่ ถ้าเกิดจาก Bordetella pertussis มักพบในเด็กอายุน้อย กว่า 1 ปี ที่ไม่ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ เด็กจะมีอาการไอมาก ไอเป็นชุดๆ มีเสมหะ มากและเหนียว
ตรวจได้ยินเสียงหายใจยาวในช่วงหายใจ เข้า (whooping cough) อาจมีอาการเขียวหรือหยุด หายใจในเด็กเล็ก อาการหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน มัก หายภายใน 2 สัปดาห์และสามารถหายได้เอง ผู้ป่ วยที่มี อาการไอนานมากกว่า 2-4 สัปดาห์ อาจเกิด จากสาเหตุอื่น
กลุ่มอาการครู๊ป (croup syndrome)
สาเหตุ
กลุ่มอาการที่ทำให้เกิดภาวะอุดกั้นทางเดิน หายใจ ส่วนบน ซึ่งอาจเกิดจากการติดเชื้อทางเดินหายใจ ส่วนบน หรือมีการติดเชื้อทางเดินหายใจ ส่วนล่างร่วม ด้วย ได้แก่
acute epiglottitis
bacterial tracheitis
acute laryngotracheobronchitis (Viral croup)
ฯลฯ
ความรุนแรง
การให้คะแนน (croup score) อาการและ อาการแสดง: ไอ(คะแนน) ร้องเสียงแหบ1ไอ เสียงก้อง 2 เสียง Stridor มีขณะหายใจเข้า1 หายใจเข้าและหายใจ ออก 2 Retraction และ nasal flaring มีnasal flaring และ suprasternal retraction 1 เหมือนอันที่ 1 + subcostal และ intercostals retraction2 เขียว เขียวในอากาศธรรมดา1เขียวในออกซิเจน 40% 2 เสียงหายใจเข้า ลดลง1 ช้าและเข้ายาก 2
การแปลผล
น้อยกว่า 4 คะแนน คือ ทางเดินหายใจถูกอุดกั้น เล็กน้อย 4-7คะแนน คือ ทางเดินหายใจถูกอุดกั้นปานกลางถึง มากกว่า 7คะแนน คือ มีการอุดกั้นทางเดินหายใจรุนแรงมาก ต้องใส่ท่อหลอดลม
การพยาบาล
ประเมิน/อาการและอาการแสดง ของภาวะพร่องออกซิเจนในเลือด ได้แก่ หายใจเร็ว หอบ เหนื่อย หายใจล าบาก อกบุ๋ม
วัด O2 satทุก 1-4 ชม. ตามความจำเป็น
ฟังเสียงปอด
ดูแลให้เด็กได้รับออกซิเจนที่มี ความชื้นตามแผนการรักษา ตามความ เหมาะสมกับอาการ แสดงและอายุของเด็ก ได้แก่ O2 canular, O2 box, O2 mask, O2 mask with bag, High flow, CPAP และ เครื่องช่วยหายใจ 29
ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพ ทุก 2-4 ชั่วโมง หรือตาม ความจ าเป็น ถ้า เด็กมีอาการผิดปกติ กระสับกระส่ายหรือซึม มาก ให้รายงานแพทย์
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง เด็กโตแนะน าและกระตุ้นให้เด็ก ไออย่างมีประสิทธิภาพ
ทำกายภาพบ าบัดทรวงอกในรายที่เสมหะเหนียว ใช้วิธีเคาะ และสั่นสะเทือน ช่วย
จัดให้เด็กอยู่ในท่า Semi-fowler’s position ช่วยให้ หายใจสะดวก