Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การนำภูมิปัญญาท้องเข้ามา ผสมผสานการดูแล, นางสาวฐิติยา สั่นสะท้าน…
การนำภูมิปัญญาท้องเข้ามา
ผสมผสานการดูแล
การนวด
การนวดช่วยกระตุ้นการไหลเวียนของเลือดได้ดี ช่วยเบาเทาอาการปวดเมื่อยตามส่วนต่างๆของร่างกาย ไม่ควรนวดในหญิงตั้งครรภ์ที่มีไข้หรือเพิ่งรับประทานอาหาร
การประคบสมุนไพร
กระตุ้นการไหลเวียนเลือดได้ดีขึ้นและช่วยลดอาการบวม บรรเทาอักเสบของกล้ามเนื้อ และลดการตัดตึงของเต้านม
การเข้ากระโจม
ช่วยขับน้ำคาวปลาที่ค้างอยู่ในมดลูกให้ออกเร็วขึ้น บรรเทาอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
การทับหม้อเกลือ
หญิงคลอดปกติ ทำได้หลังคลอดครบ 7 วันกรณีที่ผ่าหน้าท้อง รอให้ครบ 1 เดือนึ่งจะช่วยให้มดลูกเข้าอู่ได้เร็วขึ้น ทำให้กล้ามเนื้อหน้าท้องหดกลับและหน้าท้องยุบได้เร็ว
การนั่งถ่าน
ทำได้ตั้งแต่มารดาลุกขึ้นนั่งไหว และไม่มีอาการวิงเวียนศีรษะหรือหน้ามืด ซึ่งช่วยให้แผลหายเร็วขึ้น ช่วยลดอาการบวม
การพันผ้าหน้าท้อง
ช่วยให้มดลูกเข้าอู่ได้เร็วขึ้น และช่วยกระชับและพยุงหน้าท้องไม่ให้หย่อนโดยพันผ้าใหม่ทุกวันหลังเช็ดตัวหรือเปลี่ยนเสื้อผ้า และพันรัดหน้าท้องไว้ติดต่อประมาณ 15 วัน
การพอกผิว
ช่วยให้ผิวพรรณผุดผ่อง เนียมนุ่ม ในหญิงหลังคลอดจะช่วยลดรอยดำซึ่งเกิดขึ้นตามบริเวณคอ และข้อพับต่างๆ
Case มารดา
หลังจากคลอด 1 สัปดาห์ มารดาประคบสมุนไพรเพื่อกระตุ้นการไหลเวียนเลือด
หลังจากคลอด 2 สัปดาห์ มีการเหยียบ 3 เช้า โดยเช้าที่ 3 จะมีการเอาปูนลงบ่อ
Case ทารก
หลังจากคลอด 1 เดือน มีการขึ้นเปล และทารกมีการบิดตัวจึงได้มีการปัดญาติ 3 เช้าก่อนหมอล้างหน้าโดยใช้ใบจากและมีการร่ายมนต์
นางสาวฐิติยา สั่นสะท้าน 612901027
นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3