Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสัมพันธภาพ ระหว่างมารดากับบุตร, นางสาวฐิติยา สั่นสะท้าน…
การส่งเสริมสัมพันธภาพ
ระหว่างมารดากับบุตร
การสัมผัส
(Touch)
ในมารดาหลังคลอดพบว่า มารดาส่วนใหญ่จะสัมผัสบุตรโดยเริ่มใช้นิ้วมือแตะส่วนศีรษะแขนขาของบุตร จากนั้นประมาณ 4-8 นาที จึงใช้ฝ่ามือลูบไล้ไปตามตัว
Case: ทุกครั้งที่ให้นมบุตรและบุตรร้องไห้มารดาก็จะมีการสัมผัสบุตร
การประสานสายตา
(Eye-to-eye contact)
เป็นสื่อที่มีผลอย่างมากในการพัฒนาความเชื่อมั่นมารดาจะแสดงความสนใจโดยการสบตา บางครั้งมารดาจะส่งเสียงพูดคุย ให้บุตรลืมตามอง
Case: เมื่อบุตรตื่นจากนอนมารดาก็จะมีการเล่นกับบุตร โดยการส่งสายตา การจ๊ะเอ๋ หรือตอนกล่อมให้หลับก็เช่นกัน
การใช้เสียง
(High-pitched voice)
มารดาควรจะพูดคุยกับบุตรด้วยเสีงที่สูงกว่าปกติ เพื่อเป็นการกระตุ้นให้บุตรตอบสนอง
มีความตื่นตัวและหันไปตามเสียง
Case: มารดาจะพูดกับบุตรด้วยเสียงที่สูงกว่าปกติ เพราะคิดว่าบุตรสามารถรับรู้ได้มากกว่าเสียงปกต
การเคลื่อนไหวตามจังหวะ
(Entertainment)
การเคลื่อนไหวของร่างกายหรือตาของบุตรตามเสียงของมารดา ซึ่งเสมือนแรงกระตุ้นให้มารดาและ
บุตรโต้ตอบซึ่งกันและกัน
Case: ในขณะให้นมบุตรมารดาก็มีการฌยกตัวตามจังหวะเพื่อกล่อมบบุตร
การให้เวลา
(Time giver)
ช่วงเวลาที่มารดาอุ้มบุตรไว้แนบอกและบุตรอยู่ในช่วงตื่นเต็มที่ พร้อมที่จะตอบสนองต่อมารดา เสียงเต้นของมารดา ความอบอุ่นของมารดาทำให้บุตรรู้สึกมั่นคง
Case: หลังจากคลอดบุตรมารดายังไม่ได้ทำงานนอกบ้าน ดังนั้น ในตอนให้นม การกล่อมนอนมารดาจึงทำได้ด้วยตัวเอง
การรับกลิ่นเฉพาะ
(Odor)
มารดาสามารถจำและแยกกลิ่นบุตรของตนจากบุตรคนอื่นได้ตั้งแต่แรกเกิด
Case: มารดาบอกว่าสามารถจำกลิ่นบุตรของตนเองได้ตั้งแต่แรกเกิด
การให้ความอบอุ่น
(Heat)
บุตรจะผ่อนคลายเมื่อได้รับไออุ่นจากอ้อมแขนของมารดา
Case: ในขณะให้นมทุกครั้ง มารดาจะอุ้มบุตรไว้เสมอ
นางสาวฐิติยา สั่นสะท้าน 612901027
นักศีกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3