Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีความผิดปกติ ความผิดปกติของระบบต่อมไร้ท่อและพัน…
การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีความผิดปกติ ความผิดปกติของระบบต่อมไร้ท่อและพันธุกรรม
โรคเบาหวาน (DIABETES MELLITUS)
หวานชนิดที่สอง (Type 2 diabetes mellitus, T2DM)
สาเหตุ
ร่างกายมีภาวะดื้อต่ออินซูลิน และ ความบกพร่องในการผลิตอินซูลินที่เหมาะสม
มักพบในเด็กอ้วน/ อ้วนมาก + มีประวัติคนใน ครอบครัวเป็น DM Type
จากการรับประทานอาหารที่มีพลังงานสูง ขาดการออก
กําลังกาย
พยาธิสภาพ
อ้วน >> ร่างกายดื้อต่อ Insulin
ระยะแรก ตับอ่อน ผลิต Insulin เพื่อคุมนํ้าตาลให้ปกติ เด็กยังไม่มีอาการผิดปกต
ระยะต่อมา ภาวะดื้อ ต่อ Insulin เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตับอ่อน จะไม่สามารถผลิต Insulinได้เพียงพอ ในการคุมนํ้าตาลให้ปกต
อาการและอาการแสดง
เด็กจะอ้วนหรืออ้วนมาก
ระยะแรกยังไม่มีอาการ อาการมักค่อยเป็นค่อยไปใช้เวลานานจึงจะมีอาการ
ผิวหนังหนาตัวขึ้น
มักพบบริเวณซอกคอ รักแร้ ข้อพับต่างๆ
โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (gestational diabetes mellitus, GDM)
เบาหวานชนิดที่หนึ่ง (Type 1 diabetes mellitus, T1DM) เบา
สาเหตุ
ตับอ่อนไม่สามารถผลิตฮอร์โมน
Insulin ได้
รักษาด้วยการฉีดอินซูลินทดแทน
การสูญเสียการทํางาน β-cell ใน Islet of Langerhans ของ
ตับอ่อน
พยาธิสภาพ
ขบวนการ cellular-mediated ของระบบ Autoimmune ที่ผิดปกติ ไปทําลาย β-cell ใน Islet of Langerhans ของตับอ่อน ตับอ่อนไม่สามารถผลิต Insulin ได้ ร่างกายนํา carbohydrate ไปใช้ไม่ได้
เพิ่มการใช้ไขมัน >> เผาผลาญกรดไขมันอิสระ ด้วยขบวนการ beta oxidation ตับ เปลี่ยน กรดไขมันอิสระ >> เป็น Ketone >> Ketonemia ขับออกทางปัสสาวะ >> Ketonuria ขับออกทางปอด >> หายใจหอบ (kussmaul breathing) + กลิ่น acetone
อาการและอาการแสดง
ปัสสาวะบ่อยและมาก
กระหายน้ํามาก
หิวบ่อย กินจุ
น้ําหนักลด
อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย คันตามผิวหนัง ติดเชื้อง่าย แผลหายช้า
ภาวะเลือดเป็ นกรดจากคีโตนคั่งในกระแสเลือด (diabetic ketoacidosis: DKA)
ภาวะที่ร่างกายเป็ นกรด (acidosis) จากการมีคีโตนในเลือดสูง (ketonemia) ร่วมกับมีระดับนํ้าตาลในเลือดสูง (hyperglycemia) จากการขาดอินซุลิน
โรคเบาหวานที่มีสาเหตุจําเพาะ (specific types of diabetes due to other causes)
HYPOGLYCEMIA
สาเหตุ
กินน้อย
ฉีด Insulin มากไป
Insulin ออกฤทธิ์ดี Ex. ออกกําลังกาย
หนัก + มากเกินไป
เจ็บป่ วย ภาวะนี้อาจเป็ นอันตรายถึง
ได้ถ้าไม่ได้รับการรักษาที่เหมาะสม
อาการ เฉียบพลัน
มือสั่น ใจสั่น เหงื่อแตก หิวมาก มึนงง เวียน
ศีรษะ สับสน หน้ามืด อ่อนเพลีย เหนื่อย ปวดศีรษะ ตามัว
รุนแรงเด็กอาจซึมลงและหมดสติได้
MODERATE HYPERGLYCEMIA
สาเหตุ
ได้รับอินสุลินไม่เพียงพอ
รับประทานอาหารมาก
มีภาวะเครียดหรือการเจ็บป่วย
อาการ
อาการอ่่อนเพลีย
กระหายน้ำ ปัสสาวะบ่อย
้
คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง
อาการขาดน้ำ
อาการทางระบบประสาท สับสน ซึม ไม่
รู้สึกตัว
DIABETIC KETOACIDOSIS (DKA)
เกณฑ์การวินิจฉัยภาวะ DKA
ระดับน้ำตาลกลูโคสในเลือด (plasma
glucose) > 200 มก/ดล
ภาวะเลือดเป็ นกรด (acidosis): HCO3 < 15 มิลลิโมล/ลิตร
พบคีโทนในเลือด>3 มิลลิโมล/ลิตร หรือคีโตนในปัสสาวะ (มัก >2+)
อาการ
กระหายนํ้ามาก ถ่ายปัสสาวะบ่อย
• หายใจหอบลึกแบบ Kussmaul breathing หายใจมีกลิ่นอะซีโตนหรือคล้ายกลิ่นผลไม
ซึม อ่อนเพลีย P เร็ว BP ตํ่า ตามัว N/V
ขาดนํ้า สูญเสีย Na, K หมดสติ ชักกระตก เสียชีวิต
สาเหตุ
มีการเจ็บป่วย ติดเชื้อ เครียด
ได้รับ Insulin ไม่เพียงพอ/ ขาด Insulin
ได้รับยาบางอย่าง Ex. Steroid
ไม่ฉีด Insulin/ Insulin เสื่อมสภาพ
ได้รับ Hormone ต้าน Insulin
คําแนะนําแก่ผู้ป่วยแบะผู้ดูแล
การให้ความร้โรคเบาหวาน ชนิดที่เป็ น การรักษา และเป้าหมายในการรักษา
การให้อินซูลินที่เหมาะสมกับเด็กป่วยเป็นโรคเบาหวานแต่ละรายโดยให้ทราบถึง ชนิดของอินซูลินและการออกฤทธิ์ รวมทั้ง
วิธีใช้ เทคนิคการฉีดยาที่ถูกต้องและการเก็บรักษา
แนะนําอาการและอาการแสดงของภาวะนํ้าตาลตํ่าในเลือดและภาวะนํ้าตาลในเลือดสูง รวมทั้งการป้องกันและแก้ไขหากมีอาการ
สอนการจดบันทึกข้อมูลอินซูลิน อาหาร ผลระดับนํ้าตาลในเลือด
สอนเรื่องการวางแผนโภชนาการที่เหมาะสม อาหารที่เหมาะสม
การออกกําลังกายที่เหมาะสม
การเตรียมความพร้อมก่อนกลับบ้าน การมาตรวจตามนัด และการดูแลสิ่งแวดล้อมสําหรับผ้ป่ วยที่โรงเรียน
โภชนาการ
ควบคุมอาหาร + นับสัดส่วนคาร์โบไฮเดรต ปริมาณอาหารและพลังงานต่อวันขึ้นกับอายุเพศ นํ้าหนัก กิจวัตรประจําวัน แผนการรักษา และชนิดขของอินซูลินที่ใช
การรักษาภาวะนํ้าตาลในเลือดตํ่า
เด็กและวัยร่น ุ DM type 1 & 2 ที่รักษาด้วย Insulin / ยากิน metformin มีโอกาสเกิดภาวะนํ้าตาลในเลือดต่ำได้
moderate ≤70 มก./ดล. มีอาการน้ำตาลเลือดต่ำยังช่วยเหลือตัวเองได้
severe มีอาการไม่รู้ตัว ชัก/ รู้ตัวแต่ช่วยตัวเองไม่ได้ / กินไม่ได้
mild >70 มก./ดล. มีอาการ ≤70 มก./ดล. มีอาการน้อย/ไม่มี
การรักษาเบาหวานชนิดที่ 2
วิธีดูแลรักษา
ยาที่ใช้รักษาเบาหวานชนิดที่ 2 ในวัยรุ่น ปัจจุบันมียาเพียง 2 ชนิด คือ อินซูลิน และ metformin เท่านั้น
กรณีระดับนํ้ าตาลในเลือดสูงกว่า 250 มก./ดล.และ HbA1C >9% หรือ ยากินไม่ได้ผล ให้ เริ่มการรักษาด้วยยาฉีดอินซูลิน
การควบคุมอาหารและการออกกาลังกายอย่างสมํ่าเสมอ เป็นสิ่งที่สําคัญที่สุดในการรักษา
การปรับวิถีชีวิตด้วย อาหารสุขภาพ และการออกกาลังกาย
DIABETES MELLITUS NURSING CARE MANAGEMENT
อาจมีภาวะเลือดเป็ นกรด ไม่สมดุลของสารน้าและอิเล็กโทรไลต์ จากการอาเจียนและมีปัสสาวะมาก จากการมีน้ำตาลและสารคีโตนในเลือดสูง
มีการสูญเสียความคงสภาพของผิวหนัง เนื่องจากการไหลเวียนโลหิตไปตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายลดลง
บิดามารดาและเด็กมีความวิตกกงวลและขาดความรู้ในการปฏิบัติตัว
เสี่ยงต่อภาวะน้ำตาลในเลือดตํ่า เนื่องจากได้รับอินซูลินมากเกินไปหรือออกกำลังกายมากเกินไป หรือไม่รับประทานอาหารตามเวลา
โรคเบาจืดในเด็ก (Diabetes insipidus - DI)
สาเหตุ
กลุ่มอาการที่มีลักษณะของความผิดปกติในการกระหายนํ้า ทําให้ดื่มนํ้ามากและปัสสาวะมาก (dipsogenic diabetes insipidus หรือ psychogenic polydipsia)
ไตดูดนํ้ากลับลดลง ปัสสาวะออกมากกวาปกติ ปัสสาวะเจือจาง ดื่มน้ำมาก เช่น ผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง กรวยไตอักเสบเรื้อรัง Polycystic kidney disease ไตผิดปกติมาแต่กำเนิด
ผลข้างเคียงจากการใช้ยาที่มีผลต่อไต
ไตไม่ตอบสนอง/ ตอบสนองได้น้อยต่อ ADH
ความผิดปกติของไต (nephrogenic diabetes insipidus)
ผู้ป่วยที่มีอาการทางจิต และโรคที่มีความผิดปกติของศูนย์กระหายนํ้า
ขาดสมดุลของเกลือแร่ในร่างกาย เช่น ร่างกายมีแคลเซียม (Calcium) ในเลือดสูง หรือมีโพแทสเซียม (Potassium) ใน เลือดตํ่า
พยาธิสภาพ
Antidiuretic hormone (ADH) / Vasopressin สร้างจาก hypothalamus
ส่งต่อไปยัง ต่อมใต้สมองส่วนหลัง ให้หลั่งฮอร์โมน ADH
ADH มีหน้าที่ ควบคุมการดูดนํ้ากลับของท่อหน่วยไต ควบคุมสมดุลนํ้าภายในร่างกาย
เมื่อร่างกายขาด ADH
ท่อไตดูดนํ้ากลับลดลง >> เด็กจึงขับปัสสาวะออกมามาก (> 4ลิตรต่อวัน)
ปัสสาวะที่ขับออก ลักษณะใสเหมือนนํ้า ความถ่วงจําเพาะตํ่า ความเข้มข้นของปัสสาวะตํ่า
ร่างกายขาดนํ้า >> ความเข้มข้นของเลือดส ู งขึ้น Na + serum osmolarity สูงขึ้น >> กระตุ้น ศูนย์กระหายนํ้า >> ดื่มนํ้ามากขึ้น
Na สูง >> เด็ก ซึมลง อาเจียน ชักได้
อาการและอาการแสดง
ปัสสาวะมากและบ่อย (polyuria) ปัสสาวะมากกว่า 4ลิตรต่อวัน
กระหายนํ้ามาก ดื่มนํ้ามาก (polydipsia)
อาการขาดนํ้าอย่างรุนแรง
กระสับกระส่าย ตัวเย็น ตาลึกโหล กระหม่อมบ๋ม หายใจหอบลึก ชีพจรเบาเร็ว ความดันโลหิตตํ่า pulse pressure แคบ ซึมลง ช็อค และหมดสติ
อาการที่เกิดจากภาวะร่างกายขาดสมดุลของเกลือแร่ วิงเวียนศีรษะ สับสน ปวด ศีรษะ กล้ามเนื้ออ่อนแรง ปวดกล้ามเนื้อ เป็นตะคริว อาเจียน และชัก เป็นต้น
การรักษา
รักษาที่ต้นเหตุที่ทําให้มีการหลั่งฮอร์โมน ADH ลดลง
การผ่าตัด การให้ยาเคมีบําบัดหรือรังสีรักษาในรายที่มีสาเหตุจากเนื้องอก หรือให้ยาปฏิชีวนะในรายที่มี สาเหตุจากการอักเสบ การติดเชื้อของเยื่อหุ้มสมอง
ให้ฮอร์โทนทดแทน นิยมใช้ในรูปแบบฉีด หรือพ้นจมูก ดังนี้
pitressin (vasopressin (IM)
synthetic ADH เช่น Desmopressin หรือ DDAVP (1-deamino -8-D-arginie vasopressin) พ้นเขา ทางรูจมูก
aqueos vasopressin/pitressin (IM) / (SC)
รักษาสมดุลของสารน้ําและ electrolyte ให้ IV ป้องกันภาวะขาดน้ำ
รักษาตามอาการ
ภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมน
(Hypothyroidism)
สาเหตุ
การขาดไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กําเนิด (congenital hypothyroidism)
primary hypothyroidism มีความผิดปกติที่ต่อมไทรอยด์ ผิดปกติขนาด/ ตําแหน่งของต่อม (thyroid dysgenesis) (80- 90%)
secondary hypothyroid มีความ ผิดปกติที่ pituitary / hypothalamus
ความผิดปกติจากการขาดไทรอยด์ฮอร์โมนที่เกิดขึ้นภายหลัง (acquired disorders) primary hypothyroidism
secondary hypothyroid
มีความผิดปกติไฮโปธาลามัส/ ต่อมใต้สมอง ภายหลัง เช่น เนื้องอกต่อมใต้สมอง เนื้องอกสมอง ที่เกิดภายหลัง
ความผิดปกติที่เกิดจากการขาดธัยรอยด์ฮอร์โมนชั่วคราว (transient disorder)
hypothalamic-pituitary-thyroid axis ยังไม่สมบูรณ์
อาการและอาการแสดง
ถ้าเป็นชนิดที่เกิดภายหลังอายุ 2 ปี สติปัญญามักปกติ
ถ้าเป็นในวัยผู้ใหญ่ myxedema
อาการเหนื่อยง่าย
นํ้าหนักเพิ่ม
ทนความหนาวไม่ได้
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ผม และผิวหนังแห้ง
ร่างกาย อ่อนแอ
ซึมเฉื่อยชา
ความจําเสื่อม
Hypothyroidism
NURSING CARE MANAGEMENT
สาเหตุ
Graves’ Disease ความผิดปกติที่เกิดขึ้ นกบระบบภูมิคุ้มกันของต่อมไทรอยด์ Autoimmune >> หลั่ง TH เพิ่ มขึ้น >> ภาวะไทรอยด์เป็นพิษ/ คอพอก
เนื้องอกของต่อมใต้สมอง
มะเร็งของต่อมไทรอยด์
คอพอกเป็นพิษ
ต่อมไทรอยด์อักเสบเฉียบพลัน
การได้รับฮอร์โมนไทรอยด์มากเกิน
พยาธิสภาพ
ร่างกายต้องใช้พลังงานเพิ่มมากขึ้น
หัวใจเต้นเร็ว เพื่อเพิ่มปริมาตรของเลือดที่ออกจากหัวใจ (cardiac out put)
ความดันเลือดซิสโตลิก (systolic) สูง
ถ้าวินิจฉัยโรคได้ช้า หรือการรักษาใช้เวลานาน อาจเกิดภาวะหัวใจวาย ซึ่งเป็นอันตรายต่อชีวิต
อาการและอาการแสดง
หงุดหงิด ฉุนเฉียวง่าย ตกใจง่าย นอนไม่หลับ
ในเด็กเล็กอาจถ่ายปัสสาวะรดที่นอน ท้องเดิน มือสั่น การใช้มือจับสิ่งของมักจะไม่มั่นคง
ลายมือ และการเรียนแย่ลง เพราะความสนใจลดน้อยลง
เส้นผมจะบาง เหยียดตรง และเปราะ บางคนผมร่วง เล็บบางแตกหักง่าย
วัยรุ่นบางรายอาจไม่มีประจําเดือน(Amenorrhea)
เด็กมักมีลักษณะผอมสูง ส่วนสู งเพิ่มขึ้นเร็ว อายุกระดูกเจริญเร็วกว่าปกติ มักมีกระดูกพรุน (Osteoporosis) จากการสร้างกระดุก(Osteogenesis) เพิ่มขึ้น ถ้าเป็ นนานจะรุนแรง
การรักษา
จุดมุ่งหมาย : ระดับฮอร์โมนในร่างกายเป็นปกติ , ระงับอาการของฮอร์โมนไทรรอยด์มากเกินไป & ลดขนาดของคอพอก
รับประทานยาต้านไทรรอยด์ต่อเนื่อง เป็ นระยะเวลานาน
S/E ผื่น แก้โดยให้ยา Antihistamine, ภาวะนิวโตรฟิลตํ่า (Agranulocytosis) มีไข้ เจ็บคอ หรือมีการติดเชื้อ ต้องหยุดให้ยาทันที
Propylthiouracil (PTU)
การผ่าตัด นิยมตัดไทรอยด์ออกบางส่วน (Subtotal thyroidectomy) ข้อดี ทําให้คอพอกและฮอร์โมนสูงหายเร็ว
กลุ่มอาการดาวน์ (DOWN’S SYNDROME)
สาเหตุ
เป็นโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม
โครโมโซมคู่ที่ 21 เกินไป 1 แท่ง (มี 3 แท่ง แทนที่จะมี 2 แท่ง)
เรียกว่า TRISOMY 21 หรือ เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซม
อาการและอาการแสดง
ตาเฉียงขึ้น
ปากเล็ก ลิ้นมักยื่นออกมา
ตัวค่อนข้างเตี้ย มือสั้น
ดั้งจมูกแบน
ปัญหาหลัก คือ ภาวะปัญญาอ่อน
พัฒนาการล่าช้า
กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก (Hypotonia) ตัวนิ่ม
มักมีโรคหัวใจพิการแต่กําเนิด
โรคลําไส้อุดตันตั้งแต่แรกเกิด
ภาวะต่อมไทรอยด์บกพร่อง
การรักษา
ไม่มีการรักษาเฉพาะ
ไม่สามารถรักษาให้หายเป็นปกติได้
ให้การรักษาแบบประคับประคองตามอาการและภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น
ม่งเน้นให้เด็กสามารถช่วยเหลือตนเองได้ในชีวิตประจําวัน