Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินภาวะสุขภาพมารดาหลังคลอดโดยใช้ 13 B เป็นแนวทางการประเมิน,…
การประเมินภาวะสุขภาพมารดาหลังคลอดโดยใช้ 13 B เป็นแนวทางการประเมิน
Bottom
อวัยวะสืบพันธ์ภายนอก เกิดการฉีกขาดของแคมเล็ก อาจรู้สึกแสบเวลาปัสสาวะ
ทวารหนัก ในการคลอดอาจกระทบกับทวารหนักีเย็บอาจฉีกขาดถึงทวารหนัก
วันที่ 4-7 ความไม่สุขสบายหลังคลอดจะค่อยๆลดลงอาการบวมและฟกช้ำจะหายไป
Case : ใน 2 สัปดาห์หลังคลอด รู้สึกปวดฝีเย็บ ไม่บวม ไม่มีการฉีกขาดจนถึงทวารหนัก
ฝีเย็บ ฝีเย็บ 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอดีเย็บมักบวมและฟกช้ำ 2-3 วันหลังคลอด อาการบวมลดลงแต่ยังมีอาการเจ็บและปวดอยู่
Bladder
อาจมีอาการบวมและช้ำ มารดาหลังคลอดใหม่ๆ
มักถ่ายปัสสาวะลำบาก กรวยไตและหลอดไต
เกิดการบาดเจ็บของท่อปัสสาวะและกระเพาะปัสสาวะ
เข้าสู่ภาวะปกติใน 8-12 สัปดาห์หลังคลอด
Case : ใน 2 วันแรกถ่ายปัสสาวะลำบาก แต่หลังจากนั้นเริ่มเข้าสู่ภวะปกต
Blues
ระยะพฤติกรรมระหว่างพึ่งพาและไม่พึ่งพา (Taking hold phase)
Case : ในวันที่ 2 มารดาสนใจในปริมาณน้ำนมตนเองการดูแลร่างกายของทารก
และปฏิบัติตามคำแนะนำของพยาบาล
Case : ใน 1 วันแรกมารดานอนพักบนเตียง
ระยะพฤติกรรมพึ่งพาตนเอง (Letting go phase)
ระยะมีพฤติกรรมพึ่งพา
(Taking in phase)
Case : เมื่อออกจากโรงพยาบาล มารดาปฏิบัติตามประสบการณืของบุตรคนแรกและคำแนะนำของคนในครอบครัว
Bleeding and Lochia
วันที่ 4-10 มีสีแดงจางหรือสีชมพูไม่มีกลิ่นออกจำนวนปานกลาง (Serosa)
วันที่ 11-21 มีสีเหลืองปนขาวไม่มีกลิ่นออกไม่มาก (Alba)
ในวันที่ 1-3 มีสีแดงสด กลิ่นเหมือนประจำเดือนออกค่อนข้างมาก (Rubra)
Case : ในช่วงวันแรกๆมีลักษณะคล้ายประจำเดือนหลังจากนั้นเริ่มใสขึ้นเรื่อยๆ จนหมดไปใน 2 อาทิตย์
Bowel movemen
Case : ใน 3 แรก ไม่ถ่ายอุจจาระมีอาการท้องอืดเล็กน้อยหลังจากนั้นเริ่มถ่าย ได้ตามปกต
2-3 วันหลังการเคลื่อนไหวลำไส้ดีขึ้นอาจมีอาการท้องอืดและท้องผูก
24 ชั่วโมงแรกไม่ค่อยถ่ายอุจจาระ
Bonding and Attachment
พัฒนาการความรักใคร่ผูกพันของมารดาเเละบุตร
case: มารดารักและรู้สึกผูกพัน
ตั้งแต่ในท้อง
นางสาวฐิติยา สั่นสะท้าน 612901027
นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3