Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่6 การเสริมสร้างผู้สูงอายุ, การพยาบาล ควรแนะนำ หรือจัดให้ผสูู้งอาย…
บทที่6 การเสริมสร้างผู้สูงอายุ
โภชนาการสำหรับผู้สูงอายุ
การทำหน้าที่ของการรับรสและการดมกลิ่นลดลง
การทำหน้าที่ของกระเพาะอาหารลดลง
ประสิทธิภาพการเผาผลาญกลูโคสลดลง
เนื้อเยื่อที่ปราศจากไขมันลดลง
ความต้องการพลงังานขั้นพื้นฐานลดลง
ปัญหาทางด้านจิตใจ
ความต้องการสารอาหารในผู้สูงอายุ
พลังงานทผีู่้สงูอายุควรได้รับ ผุ้สูงอายุชายวันละ 2,250 กิโลแคลอรี่ ผู้สูงอายหุญิงวันละ 1,850 กิโลแคลอรี่ ไม่ควรได้รับน้อยกว่า 1,200 กิโลแคลอรี่
ควรได้รับ โปรตีน 1 gm : BW 1 kg
ความต้องการไขมัน ผู้สูงอายุควรได้รับไขมันไม่เกิน 30% ของพลังงานทั้งหมด
ผู้สูอายุควรได้รบัคาร์โบไฮเดรต 50-55 % ของพลงังาน ทั้งหมด
ความต้องการน้ำ ผู้สูงอายุควรได้รับน้ำไม่ต่ ากว่า 1,500 ml : day
ปัญหาภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ
ภาวะโภชนาการเกิน (overnutrition)
การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
สาเหตุทางด้านจิตใจและพฤติกรรม
พันธุกรรม
ภาวะโภชนาการต่ำ(undernutrition)
การเปลี่ยนแปลงตามอายุ
ภาวะทุพพลภาพ
การได้รับยาหลายชนิดร่วมกัน
การขับถ่าย
การกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ (urinary incontinence)
Stress incontinence
Overflow incontinence
Urgency incontinence
Reflex incontinence
ท้องผูก (constipation)
ท้องผูกขั้นต้น (primary constipation)
ท้องผูกขึ้นตาม (secondary constipation
การออกกำลังกาย
การออกกำลังกายที่เพิ่มความแข็งแรงและทนทานของกล้ามเนื้อ
การออกกำลังกายที่ความยาวของกล้ามเนื้อคงที่ (isometric exercise
การออกกำลังกายทกี่ล้ามเนื้อมีการเปลี่ยนแปลงความยาว (isotonic exercise)
การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มสมรรถภาพของปอดและหัวใจ
การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นและการผ่อนคลาย
การพักผ่อนนอนหลับในผู้สูงอายุ
NREM (non rapid eye movement)
stage 1 NREM ระยะเริ่มหลับหรือเคลิ้มๆ (falling asleep)
stage 2 NREM ระยะเริ่มง่วง (drowsy) ร่างกายผ่อนคลายมากขึ้น
stage 3 NREM ระยะหลับลึก กล้ามเนอื้คลายตัวมากขึ้น
stage 4 NREM ระยะหลับลึก (deep sleep) ปลุกตื่นได้ยาก ร่างกายผ่อนคลายเต็มที่
REM (rapid eye movement)
เป็นระยะทมี่ีการกลอกตาอย่างรวดเร็ว เป็นขั้นตอน ของการนอนหลับๆ ตื่นๆ กล้ามเนื้อลูกตามกีารเคลื่อนไหวอย่างรวดเร็วหรอืกลอกไปมา อัตราการ หายใจ ชีพจรเพิ่มขึ้น ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น
การพยาบาล
ควรแนะนำ หรือจัดให้ผสูู้งอายุรับประทานอาหารที่มีเส้นใย
ดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 2,000 – 3,000 ซีซี
ออกก าลังกาย อย่างน้อยสปัดาหล์ะ 3 ครั้ง ครั้งละ 30 นาที จะช่วยเพิ่มแรงบบีตัวของ
ฝึกการขับถ่ายอจุจาระเป็นเวลาเดียวกันทุกวัน
ไม่กลั้นอจุจาระ เมื่อปวดควรรีบเข้า ห้องน้ าทันที
5.จัดสภาพห้องน้าให้เหมาะสม โถแบบนงั่ถ่าย มีราวจับ
6.ดูแลให้ยาระบายตามแผนการรักษาของแพทย์
7.ควักอุจจาระ (evacuation) ในรายที่อจุจาระแหง้ติดแข็งมาก
แบบแผนการนอนหลับในผู้สูงอายุ
1) ระยะ stage 1 NREM เพิ่มขึ้น ร้อยละ 8-15 ของระยะเวลานอนทง้ัหมด ทำให้ได้รับสงิ่เร้ามากระตุ้นผสูู้งอายุจะตื่นได้ง่าย ทำให้ตื่นบ่อยตอนกลางคืน เมื่อตื่นมาจะรู้สึกเหมือนหลับ ไม่เพียงพอ ไม่สดชื่น
2) ระยะ stage 3 4 NREM ลดลง ร้อยละ 15 – 20 ของระยะเวลานอนทงั้หมดทำให้ การนอนหลบัสนทิลดลง
3) ระยะ REM ลดลง ร้อยละ 20-25 ของระยะเวลานอนทั้งหมด
4) ตื่นเป็นระยะ 1-2 ครั้งต่อคืน 5) ตื่นเร็วกว่าเดิม และงีบหลับ (nap) ในตอนกลางวันเพิ่มขึ้น
นางสาวอริสา ไชยพรม
รหัสนักศึกษา 611201154