Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา เซลเจริญผิดปกติ - Coggle Diagram
บทที่ 10 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา
เซลเจริญผิดปกติ
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน
(acute lymphoblastic leaukemia)
เป็นมะเร็งที่พบบ่อยที่สุดในเด็ก พบมากในช่วงอายุ 2-5 ปี
หมายถึง
เกิดจากความผิดปกติของเซลล์ต้นก าเนิด(Stem cell) ที่อยู่ในไขกระดูก (Bone Marrow)
เกิดการแบ่งตัวที่ผิดปกติ ไม่สามารถ differentiate ไปเป็นเซลล์ตัวแก่ได้
ส่งผลให้จำนวนเม็ดเลือดขาวตัวอ่อนมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วทั่ว
ร่างกายทำให้การสร้างเม็ดเลือดแดงและเกร็ดเลือดลดลง
ผู้ป่วยจึงเกิดอาการซีด เลือดออก และติดเชื้อได้ง่าย
acute lymphoblastic leukemia
T-cell lymphoblastic leukemia
B-cell lymphoblastic leukemia
ชนิดของมะเร็งเม็ดเลือดขาว
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL
เป็นชนิดที่พบได้ในทุกช่วงอายุ ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่
พบได้บ่อยที่สุดในเด็กอายุ 2-5 ปี
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด AML
พบได้ในผู้ใหญ่มากกว่าในเด็กและพบในผู้ชายบ่อยกว่าผู้หญิง
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CLL
พบได้บ่อยในผู้ใหญ่ และมีความชุกของโรคมากขึ้นตามอายุ
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CML
เป็นชนิดที่พบได้น้อย พบได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่
มักพบในเด็กอายุมากกว่า 4 ปี
สาเหตุ
ปัจจัยด้านพันธุกรรม
เด็กที่เป็นดาวน์ซินโดรม (Down’s syndrome) มักพบชนิดALL และ AML มากกว่าคนปกติ
ครอบครัวที่มีสมาชิกเป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL
ในฝาแฝดที่เป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL พบว่าจะทำให้ฝาแฝดอีกคนหนึ่งมีโอกาสเป็น
ปัจจัยทางด้านสิ่งแวดล้อม
การมีประวัติได้รับสีไออนไนซ์(Ionizing radiation) ซึ่งเป็นรังสีที่ใช้ในการ
ตรวจและรักษาในปริมาณสูง
การมีประวัติได้รับยาเคมีบำบัดในการรักษาโรคมะเร็งชนิดอื่นมาก่อน
การสัมผัสสารเคมีที่เป็นพิษบางชนิด โดยเฉพาะสารเบนซิน (Benzene) สารฟอร์มาลดีไฮด์ (Formaldehyde)
อาจเกิดจากการได้รับสารเคมีต่างๆ ที่เป็นพิษจากสิ่งแวดล้อม
หรือจากควันบุหรี่และการสูบบุหรี่
อาการ
อาการแรกที่เป็น คือ เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ซีด อ่อนเพลียง่าย
เลือดออกง่าย เพราะมะเร็งเม็ดเลือดขาวจะมีเกร็ดเลือดต่ำ
มีเม็ดเลือดขาวปริมาณมากแต่ทำหน้าที่ไม่ได้ต่อสู้เชื้อโรคไม่ได้ ผู้ป่วย
จึงติดเชื้อง่าย มีไข้
เม็ดเลือดขาวไปเบียดบังอวัยวะต่างๆ หรือไปสะสมตามอวัยวะต่างๆ
การวินิจฉัย
เจาะเลือดตรวจหาเซลล์เม็ดเลือดตัวอ่อนของเม็ดเลือดขาว Blast cell
ยืนยันโดยการเจาะไขกระดูก Bone marrow Transplanted
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง((Lymphoma)
ระบบน้ำเหลือง
ประกอบประด้วยอวัยวะที่เกี่ยวกับน้ าเหลือง
ได้แก่ ม้าม,ไขกระดูก, ต่อมทอนซิล, ต่อมไทมัส,
อวัยวะเหล่านี้ซึ่งมีหน้าที่นำสารอาหาร และเซลล์เม็ดเลือดขาว(Lymphocyte) ไปยังส่วนต่างๆทั่วร่างกาย
พบบ่อย คือต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอ(Cervical Lympnode)
มะเร็งต่อมน้้าเหลืองชนิดฮอดจ์กิน (Hodgkin Lymphoma)
ต่อมน้ำเหลืองจะโตมาเป็นปี ไม่มีอาการเจ็บปวดมีลักษณะเฉพาะ
อาการจะเร็วและรุนแรง มักจะมาโรงพยาบาลเมื่อมีการกระจายไปทั่วร่างกายแล้ว
อาจมีก้อนที่ช่องท้อง ช่องอกหรือในระบบประสาท
Burkitt Lymphoma
มีต้นกำเนิดมาจาก B-cell( B lymphocyte)
มีก้อนเนื้องอกที่โตเร็วมาก มักพบเฉพาะที่ เช่น ในช่องท้อง รอบกระดูกขากรรไกร
การวินิจฉัย
การตัดชิ้นเนื้อเพื่อตรวจทางพยาธิวิทยา (Biopsy)
การตรวจไขกระดูก เพื่อประเมินว่ามีการกระจายเข้าไปในไขกระดูกหรือไม่
เอกซเรย์คอมพิวเตอร์(CT scan)
เอกซเรย์คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI)
การตรวจกระดูก (Bone scan)
การตรวจ PET scan เพื่อหาเซลล์มะเร็ง
อาการ
อาการเริ่มต้นที่พบบ่อย คือ จะคลำพบก้อนที่บริเวณต่าง ๆ เช่น คอ รักแร้
ขาหนีบ หรือเต้านม แต่จะไม่มีอาการเจ็บ
ถ้ามีการติดเชื้อ เจ็บที่ก้อน
มีไข้ หนาว สั่น เหงื่อออกมากตอนกลางคืน คันทั่วร่างกาย
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด อ่อนเพลียไม่ทราบสาเหตุ
ไอเรื้อรัง หายใจไม่สะดวก ต่อทอนซิลโต
ปวดศีรษะ
อาการในระยะลุกลาม
ซีด มีเลือดออกง่าย เช่น จุดเลือดออกตามตัว จ้้ำเลือด
ในรายที่เป็นมะเร็งต่อมน้ าเหลืองเกิดขึ้นภายในช่องท้อง
ผู้ป่วยจะมีอาการแน่นท้อง หรืออาหารไม่ย่อย
การรักษา
การใช้ยาเคมีบ้าบัด (Chemotherapy)
การฉายรังสี(Radiation Therapy) คือการรักษาด้วยรังสี
ปริมาณสูง เพื่อทำลายเซลล์มะเร็ง
การรักษาด้วยการปลูกถ่ายเซลล์ต้นเนิด (Transplantation)
มะเร็งไต(Wilm tumor หรือ neuroblastoma)
มะเร็งไต
ภาวะที่เนื้อไตชั้นพาเรนไคมา(Parenchyma) มีการ
เจริญผิดปกติจนกลายเป็นก้อนเนื้องอกภายในเนื้อไต
ส่วนใหญ่จะมีขนาดใหญ่ และคลำได้ทางหน้าท้อง และมักจะเป็นที่ไตข้างใดข้างหนึ่ง
จะไม่ให้คลำบ่อย เพราะอาจทำให้ก้อนแตก หรืออาจเกิดการแพร่กระจาย
ของมะเร็ง
neuroblastoma
เป็นเนื้องอกชนิดร้ายแรงที่พบได้บ่อยในเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี
เป็นเนื้องอกที่มีต้นกำเนิดมาจากเซลล์ของระบบประสาทสามารถเกิดบริเวณใดก็ได้ที่มีเนื้อเยื่อ Sympathetic nerve ได้แก่ ต่อม
หมวกไต(adrenal gland) ในช่องท้อง
อาการนำที่มาพบแพทย์ ได้แก่ มีก้อนในท้อง ท้องโต ปวดท้อง
การตอบสนองต่อการรักษาจะไม่ดี
มีอัตราการตายสูง
การรักษาด้วยเคมีบำบัด
ระยะชักนำให้โรคสงบ (induction phase)
เป็นการให้ยาเพื่อทำลายเซลล์ในเวลาอันสั้นให้มากที่สุดและมีอันตรายต่อเซลล์ปกติให้น้อยที่สุด
ทำให้ไขกระดูกสามารถสร้างเซลล์เม็ดเลือดขาวได้ตามปกติ ใช้เวลา4 – 6 สัปดาห์
ยาที่ใช้ ได้แก่ Vincristine, Adriamycin,
L – Asparaginase และ Glucocorticoid
ระยะให้ยาแบบเต็มที่ (intensive or consolidation phase)
เป็นการให้ยาหลายชนิดร่วมกันภายหลังที่ผู้ป่วยอยู่ในระยะ
โรคสงบแล้ว
เพื่อให้ยาทำลายเซลล์มะเร็งให้เหลือน้อยที่สุด
ระยะนี้จะใช้เวลาประมาณ 4 สัปดาห์
ยาที่ใช้ ได้แก่ Metrotrexate, 6 – MP และ Cyclophosephamide
ระยะป้องกันโรคเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง (CNS
prophylaxis phase)
เป็นการให้ยาเพื่อป้องกันไม่ให้โรคลุกลามเข้าสู่ระบบประสาท
ส่วนกลาง
ยาที่ใช้ ได้แก่ Metrotrexate, Hydrocortisone
และ ARA – C
ระยะควบคุมโรคสงบ (maintenance phase or
continuation therapy)
เป็นการให้ยาเพื่อควบคุม และรักษาโรคอย่างถาวร ยาที่นิยม
ใช้ คือ การให้ 6 – MP
โดยการรับประทานทุกวันร่วมกับการให้ Metrotrexate
การรักษาประคับประคอง
การรักษาทดแทน (Replacement therapy)
การให้เลือดเพื่อให้ระดับฮีโมโกลบินไม่น้อยกว่า 7-8 กรัม/ดล.
ในระยะแรกก่อนโรคสงบ
การรักษาด้วยเกร็ดเลือด
จำเป็นต้องให้เกร็ดเลือดก่อน ก่อนการให้
ยา ซึ่งวิธีนี้จะช่วยรักษาชีวิตผู้ป่วยได้สูง
วิธีการให้ยาเคมีบำบัด IT IM IV
ทางช่องไขสันหลังintrathecal
ทางกล้ามเนื้อ หลังฉีดต้องระวังเลือดออก
ทางหลอดเลือดดำ vein ต้องระวังการรั่วของยาออกนอก
ยาเคมีบำบัดที่ใช้บ่อย
Cyclophosphamide รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวโดยออกฤทธิ์จับ
หรือรวมตัวกับดีเอ็นเอของเซลล์มะเร็งส่งผลทำให้
เพิ่มจำนวนไม่ได้
Mercaptopurine(6-MP) รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน
โดยยับยั้งการสร้าง Purine ยับยั้งการสร้างกรดนิวคลีอิก
Methotrexate รักษามะเร็ง Acute leukemiaโดยยับยั้งการสร้าง
DNA และRNA และมีฤทธิ์กดการเจริญเติบโตของเซลล์
Cytarabine(ARA-C) รักษามะเร็งชนิด Acute lymphoblastic
leukemia (ALL)โดยจะขัดขวางการสร้าง DNA
Mesna ป้องกันภาวะเลือดออกในผู้ป่วยกระเพาะปัสสาวะ
อักเสบที่มีสาเหตุมาจากยารักษามะเร็งได้แก่Cyclophosphamide
Ondasetron(onsia) ป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียนใน
ผู้ป่วยมะเร็งที่ต้องเข้ารับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด
Bactrim ป้องกันการติดเชื้อฉวยโอกาส เนื่องจากผู้ป่วยมี
ภูมิต้านทานต่ำ
Ceftazidime(fortum) ป้องกันการติดเชื้อเนื่องจากมีไข้
หลังได้รับยาเคมีบำบัด
Amikin ป้องกันการติดเชื้อเนื่องจากมีไข้หลังได้รับยาเคมี
บำบัด