Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้มีความผิดปกติด้านอารมณ์, นศพต.อังศุมาลี บุรีภักดี เลขที่65 -…
การพยาบาลผู้มีความผิดปกติด้านอารมณ์
:red_flag:
Depressive disorder
อุบัติการณ์
อย่าร้างแยกทางอยู่คนเดียว
ญ>ช 2:1
แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการเกิดภาวะซึมเศร้า
ด้านชีวภาพ
Genetic theory
รุ่นลูกเสี่ยงมากขึ้น
แฝดแท้สูงกว่าแฝดเทียม
Biochemica theory of depression
เกิดจากขาดสมดุล neurotransmitter ลดลง
serotonin
norepinehrine
dopamine
ด้านความคิดและการรับรู้
ภาวะซึมเศร้าเกิดจากความคิด
ด้านลบเกี่ยวกับตนเอง
เกณฑ์วินิจฉัย
โรคซึมเศร้าตาม ICD-10
F32 Depressive episode
F32.0 Mild depressive episode
F32.1 moderate depressive episode
F32.2 severe depressive episode
F32.3 Mild depressive episode with psychotic symtomp
F33 Recurrent depressive disorder
F34 Dersistant mood disorder
F34.1 Dysthymia
เกณฑ์การวินิจฉัย major depressive disorder ตาม DSM-5
A มีอาการ 5(ใน9อาการ) โดยมีอาการข้อ1และ2
อย่างน้อย1อาการ ร่วมกันนาน2 wk
1.มีอารมณ์ซึมเศร้าแทบทุกวัน
2.ความสุขในกิจกรรมลดลง
3.นน ลด>5% ต่อเดือน/เบื่ออาหาร
4.นอนไม่หลับ/หลับมากไป
5.phychomotor agitation(อยู่ไม่นิ่ง)
Retardation อยู่นิ่งๆไม่เคลื่อนไหว
6.อ่อนเพลีย ไร้แรง
7.รู้สึกไร้ค่า
8.สมาธิ/ความสามารถด้านการคิดการอ่านลดลง
9.คิดฆ่าตัวตาย
B อาการทำให้ loss of function
C อาการไม่ได้เป็นผลจากด้านสรีรวิทยา
ภาวะความเจ็บป่วยอื่น
D อาการ major depressive disorder ไม่ใช่
อาการของโรคทางจิตเวชอื่นๆ
E ไม่เคยมี manic episode/hypomanic episode
เกณฑ์การวินิจฉัย
โรคซึมเศร้าเรื้อรัง
A มีอาการซึมเศร้าอย่างน้อย 2 ปี
B มีอาการดังต่อไปนี้อย่างน้อย2อาการ
เบื่ออาหาร
นอนไม่หลับ/นอนมาก
อ่อนแรง
self-esteem ต่ำ
สมาธิไม่ดี ตัดสินใจยาก
รู้สึกหมดหวัง
C มีอาการแบบไม่ขาดช่วง
D อาจมี major depressionต่อเนื่อง-2ปี
E ไม่เคยมี manic/ hypomanic/ cyclothymic
F ไม่ใช่อาการทางจิตเวชอื่นๆ
G อาการไม่ได้มาจากยา/สารเสพติด
H อาการทำให้เกิดความทุกข์ + loss of function
การบำบัดรักษา
การบำบัดรักษาทางกาย
การรักษาด้วยยา : ต้านอาการเศร้า
สร้างทัศนคติที่ดีต่อการทานยา
ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติ
บอกผลข้างเคียงของยา
สร้างกำลังใจที่ดี
การรักษาด้วยไฟฟ้า
การจำกัดพฤติกรรม
ระบายความรู้สึกทุก30นาที
ผูกมัดให้ปลอดภัย
ให้การดูแลใกล้ชิด
การบำบัดทางใจ
ทางปัญญา
สัมพันธภาพระหว่างบุคคล
จิตวิเคราะห์ระยะสั้น
ความคิดและพฤติกรรม
ปฏิสัมพันธ์ ฝึกทักษะ
การแก้ปัญหา
พจวัตแบบย่อสั้น
การจัดสิ่งแวดล้อม
สร้างบรรยากาศอบอุ่น เป็นมิตร
จัดกิจกรรมเหมาะสม
:red_flag:
Bipolar disorder
manic episode
การวินิจฉัยตามเกณฑ์ DSM5
A อารมณ์ขึ้นๆลงๆ > 1 wk
B มีอาการต่อไปนี้อย่างน้อย 3 อาการ
คิดว่าตนยิ่งใหญ่
พูดมากกว่าปกติ
Flight of idea
ต้องการนอนลดลง
วอกแวก
หมกมุ่นกับกิจกรรมที่ทำให้เพลิดเพลิน
มีกิจกรรมที่มีจุดมุ่งหมายมากขึ้น
D อาการไม่ได้มากจากยา/สารเสพติด
C ทำให้บกพร่องชีวิตประจำวัน
:star:
Bipolar I disorder
A มีอาการของ manic episode อย่างน้อย1ครั้ง
B manic episode/major depressive episode
ไม่ใช่อาการโรคทางจิตอื่นๆ
Hypomanic
การวินิจฉัยตามเกณฑ์ DSM5
A สนุกสนานผิดปกติ สลับหงุดหงิด นาน4วัน
B มีอาการต่อไปนี้ 3-4อาการ
มี self esteem มากขึ้น
พูดมากผิดปกติ
นอนน้อยลง
Flight of idea
มีกิจกรรมที่มีจุดมุ่งหมายมากขึ้น
วอกแวก
หมกมุ่นกับกิจกรรมที่ทำให้เพลิดเพลิน
C ระยะที่มีอาการไม่สัมพันธ์กับลักษณะประจำตัว
D ผู้อื่นสังเกตเห็นความผิดปกติ
E อาการไม่รุนแรงมากพอ/ไม่ loss of funtion
F อาการไม่ได้มากจากยา/สารเสพติด
:star:
Bipolar II disorder
A มีอาการเข้าเกณฑ์ hypomanic episode อย่างน้อย1อาการ/
major depressive episode อย่างน้อย1อาการ
B ไม่เคยมีอาการ manic
C hypomanic /major depressive episode
ไม่ใช่อาการโรคทางจิตอื่นๆ
D อาการนี้ทำให้เกิดความทุกข์
Cyclothymic disorder
การวินิจฉัยตามเกณฑ์ DSM5
A มีอาการของ hypomanic/depressive
แต่ไม่ครบตามเกณฑ์ อย่างน้อย2ปี
B ใน2ปี ต้องมีอาการเกินครึ่งของเวลา
และไม่ขาดอาการนานกว่า2เดือน
C ไม่เคยมี major depressive episode
manic episode,hypomanic
D อาการข้อA ไม่ใช่อาการโรคทางจิตอื่นๆ
E อาการไม่ได้เป็นผลจากยา
F อาการนี้ทำให้เกิดความทุกข์
กิจกรรมการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดอันตรายต่อผู้อื่น
ท่าทางเป็นมิตร
ประเมินพฤติกรรมก้าวร้าว
ให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึก
ดูแลสิ่งแวดล้อม เงียบสงบ เก็บของมีคม
ทำกิจกรรมบำบัด
เสริมแรงทางบวก
เฝ้าระวังอาการคลุ้มคลั่ง
ดูแลให้ได้รับยา
การบำบัดรักษา
การบำบัดทางกาย
การรักษาด้วยยา
การรักษาด้วยไฟฟ้า
การจำกัดพฤติกรรม
การทำจิตบำบัด
บำบัดความคิด พฤติกรรม
ทำจิตบำบัดสัมพันธภาพระหว่างบุคคล สังคม
เน้นแรงสนับสนุนในครอบครัว
การสอน
การสนับสนุน
การจัดการดำเนินชีวิต
การจัดสิ่งแวดล้อม
กิจกรรมที่ใช้พลังงาน
ออกกำลังกาย นันทนาการ
นศพต.อังศุมาลี บุรีภักดี เลขที่65