Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการอนามัยชุมชนกับการวินิจฉัยชุมชนและการแก้ไขปัญหา - Coggle Diagram
กระบวนการอนามัยชุมชนกับการวินิจฉัยชุมชนและการแก้ไขปัญหา
การประเมินชุมชน
1.การรวบรวมข้อมูล
ข้อมูลปฐมภูมิ
ข้อมูลได้จากผู้ให้ข้อมูลโดยตรง
ข้อมูลทุติยภูมิ
ข้อมูลได้จากแหล่งที่มีข้อมูลอยู่แล้ว
รายละเอียด ประกอบด้วย
1.ที่ตั้งชุมชน
ขอบเขต
สภาพพื้นที่ตั้ง
2.ประชากรในชุมชน
โครงสร้างประชากร
วัฒนธรรมในชุมชน
ปัจจัยเสี่ยง เช่นอยู่ใกล้โรงงานที่ส่งผลต่อชุมชน
อัตราเกิด, ตาย , ป่วย ,โรคติดต่อ
พฤติกรรมเสี่ยง
3.ระบบสังคมชุมชน
การศึกษา
เศรษฐกิจ
อาชีพ
รายได้
สาธารณสุข
สาธารณูปโภค
ประปา,ไฟฟ้า
แหล่งบริการต่างๆ
การเมือง การปกครอง
ความเชื่อ และค่านิยม
2.การเตรียมเครื่องมือ
แบบสอบถาม
แบบสัมภาษณ์
แบบสังเกต
แบบทดสอบ
แบบทดลอง
3.การเตรียมผู้สำรวจหรือผู้รวบรวมข้อมูล
4.การกำหนดกลุ่มตัวอย่าง
5.การกำหนดวิธีการรวบรวมข้อมูล
6.การบันทึกข้อมูล
7.การวิเคราะห์ข้อมูล
ตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์ของข้อมูล
จัดประเภทข้อมูล
การแจกแจงข้อมูล
รวมจำนวนการแจงนับ (tally) ออกมาเป็นตัวเลขจำนวนเต็มแล้วนำมาคำนวณเป็นค่าร้อยละหรือค่าสถิติชีพ
8.การนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
1.นำเสนอโดยปราศจากแบบแผน
บทความ
บทความกึ่งตาราง
2.นำเสนอโดยมีแบบแผน
2.1 เป็นตาราง
ตารางทางเดียว
ตารางสองทาง
ตารางซับซ้อน
2.2 กราฟ
กราฟเส้น
ฮีสโตรแกรม
รูปหลายเหลี่ยม
2.3 แผนภูมิ
2.3.1 แผนภูมิแท่ง
เชิงเดี่ยว
ซับซ้อน
แรเงาซ้อน
2.3.2แผนภูมิกง
2.3.3แผนภูมิภาพ
2.3.4แผนภูมิทางภูมิศาสตร์
แบบจุด
แบบเข็มหมุด
แบบแรเงาหรือระบายสี
2.3.5 แผนภูมิเพื่อจุดประสงค์พิเศษ
การไหลเวียน
องค์การ
การวินิจฉัยชุมชน
การระบุปัญหาชุมชน
การระบุปัญหาต้องมีมาตรฐานเปรียบเทียบกับข้อมูลนั้นๆ โดยใช้ดัชนีทางอนามัย
หลักการเขียนปัญหาต้องมีความชัดเจน ระบุว่า ใครรับผลของปัญหา มีจำนวนหรืออัตรามากน้อยเพียงใด
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
มี 4 วิธี
1.Hanlon and Pickett
2.สมาคมสาธารณสุขอเมริกา
3.รองศาสตราจารย์นายแพทย์ ไพบูลย์ โล่สุนทร
4.จริยวัตร คมพยัคฆ์
วิธีที่ใช้ คือ วิธีที่4 จริยวัตร คมพยัคฆ์
1.องค์ประกอบด้านสุขภาพอนามัย
1.1ขนาดของปัญหา
1.2 ความรุนแรงของปัญหา
2.ความยากง่ายในการแก้ปัญหา
2.1ด้านวิชาการ
2.2ด้านบริหาร
2.3ด้านระยะเวลา
2.4ด้านกฎหมาย
2.5ด้านศีลธรรม
3.ความวิตกกังวลต่อปัญหาของชุมชน
ความต้องการที่จะแก้ไขปัญหาของชุมชนโดยประชาชนมีส่วนร่วม
การวางแผนแก้ไขปัญหา
ประเภทของแผน
1.แผนระดับสูง
2.แผนระดับปฏิบัติการ
แผน
แผนงาน
โครงการ
การเขียนโครงการ
หลักการและเหตุผล
ทำไมต้องทำโครงการ ทำแล้วได้อะไร ถ้าไม่ทำจะเกิดผลอย่างไร
ชื่อโครงการ
ต้องมีความชัดเจน เหมาะสม และเฉพาะเจาะจง
วัตถุประสงค์
ตย. ประชาชนทั่วไปมีความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง
เป้าหมาย
ประชาชนอายุ 40 ปีขึ้นไปร้อยละ 60 มีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงในระดับดีขึ้นไป
วิธีดำเนินการ
กระบวนการปฏิบัติเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมาย
ระยะเวลาดำเนินงาน
ระยะเวลาที่เริ่มโครงการจนเสร็จสิ้นโครงการ
งบประมาณ
การประมาณค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นของโครงการ
การประเมินผล
แนวทางติดตามประเมินผลทำอย่างไร ในระยะเวลาใด ใช้วิธีการใดให้เหมาะสม
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เป็นประโยชน์และผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ
ประเมินผลโครงการ
เพื่อประเมินผลโครงการที่ดำเนินนั้นเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้หรือไม่ คุ้มค่าต่อการทำหรือไม่