Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.3 ความผิดปกติของฮอร์โมน - Coggle Diagram
5.3 ความผิดปกติของฮอร์โมน
เบาหวาน
ชนิดของเบาหวานขณะตั้งครรภ์
GDM
พบครั้งแรกระหว่างตั้งครรภ์
A-1 คือ fasting plasma glucose น้อยกว่า 105 mg/dl
A-2 คือ fasting plasma glucose มากกว่า 105 mg/dl
Overt DM
เป็นเบาหวานก่อนตั้งครรภ์อายุ 24 สัปดาห์
การวินิจฉัย
การคัดกรองขณะตั้งครรภ์
การคัดกรองด้วย 50 g Glucose challenge test
ตั้งแต่ 200 mg/dl วินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์
ตั้งแต่ 140-199 g/dl จะนัดทุก 1 สัปดาห์
เท่ากับ 140 mg/dl หรือมากกว่า ถือว่าผิดปกติ ตรวจวินิจฉัยต่อด้วย 100 g OGTT
การประเมินภาวะความเสี่ยงในการเกิดโรคเบาหวาน
OGTT เป็นโรคเบาหวาน ถ้าระดับน้ำตาลสูงกว่าปกติอย่างน้อย 2 ค่าขึ้นไป
Fasting ≥ 105 mg/dl
1 ชั่วโมง ≥ 190 mg/dl
2 ชั่วโมง ≥ 165 mg/dl
3 ชั่วโมง ≥ 145 mg/dl
IADPSG ถ้า FBS >92 mg/dl หรือ < 126 mg/dl
เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์
Fasting 92 mg/dl
1 ชั่วโมง (1 hr-PPG) 180 mg/dl
2 ชั่วโมง (2 hr-PPG) 153 mg/dl
การดูแลรักษา
ก่อนการตั้งครรภ์
ให้คำปรึกษา
ระยะตั้งครรภ์
ควบคุมเบหวาน
ระยะคลอด
IV fluid
กำหนดเวลาคลอด
งดอาหารและงดอินซูลินที่ฉีดทั้งหมด
วิธีการคลอด
การชักนำการคลอด
การผ่าตัดคลอด
ระยะหลังคลอด
ควบคุมระดับน้ำตาล
Breast feeding
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
การคุมกำเนิด
Hypothyroidism
สาเหตุ
ขาดไอโอดีน
มีการทำลายเนื้อต่อมไทรอยด์
การรักษาการผ่าตัด
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
อาการและอาการแสดง
ทนเย็นไม่ได้
เบื่ออาหาร
ผมร่วง เล็บเปราะ
เสียงแหบ
ผิวแห้งกร้าน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
T ต่ำ DTR ช้า
ระดับ FT4 ต่ำ TSH สูง
การรักษา
Levothyroxine (T4) ขนาด 100-200 mg/day
Hyperthyroidism
สาเหตุ
Graves
Plummer's disease
Toxic adenoma
อาการและอาการแสดง
ตาโปน
หิวบ่อยหรือกินจุ
น้ำหนักไม่เพิ่ม
อาการสั่น มือสั่น
ขี้ร้อน หงุดหงิด
ตกใจง่าย
ต่อมไทรอยด์มีขนาดใหญ่ขึ้น
HR เร็ว
การวินิจฉัยโรค
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย จะพบอาการและอาการแสดง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Thyroid function
TSH จะต่ำ T3 uptake สูง T4 สูง
การตรวจเลือด เช่น CBC
การรักษา
การรักษาโดยยา
PTU 100-150 mg/day
Methimazole
การผ่าตัด
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
อธิบายเกี่ยวกับโรค
แนะนำการปฏิบัติตัว
การรับประทานอาหาร ที่มีโปรตีน คาร์โบไฮเดรต และวิตามินสูง
การพักผ่อน
การรับประทานยา
การนับลูกดิ้น
ระยะคลอด
ระยะที่ 1
จัดท่านอนศีรษะสูง
V/S ทุก 1-2 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับยาระงับปวด
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
อาการใจสั่น หายใจไม่สะดวก
ระยะที่ 2
V/S ทุก 10 นาที
ให้ผู้คลอดเบ่งน้อยที่สุด
FHS ทุก 5 นาที
หลังคลอดฉีด Syntocinin
ห้ามให้ยา methergine
ระยะหลังคลอด
ให้นมบุตรได้
แนะนำการปฏิบัติตัวหลังคลอด
ดูแลให้ได้รับยา PTU
ป้องกันการตกเลือดหลังคลอด