Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการตรวจร่างกาย Physical Examination (ต่อ), ow4qtlfhedY6TzjtU7C-o,…
หลักการตรวจร่างกาย
Physical Examination (ต่อ)
การตรวจร่างกายในเด็ก
Approach
การสร้างบรรยากาศให้เด็กร่วมมือ
การรู้จักสังเกต
การรอคอยและตรวจซ้ําเป็นระยะ
ท่าทางการตรวจ
■ เด็กทารกที่มีอายุต่ํากว่า 6 เดือน ให้เด็กนอนบนเตียง ตรวจโรคเป็นท่าทีเหมาะสมที่สุด
■ เด็กที่อายุตั้งแต่ 6 เดือน จนถึง 3-4 ปีควรให้มารดาอุ้มหรือตรวจบนตักของมารดา ท่าที่เหมาะสมที่สุดคือ ให้มารดาอุ้มพาดบ่าโดยหันหลังของเด็กให้ผู้ตรวจ
Growth and Development
Vital sign
อัตราการหายใจปกติ (ครั้ง/นาที)
อัตราการเต้นของชีพจรปกติตามกลุ่มอายุต่างๆ
ค่าความดันโลหิตของเด็กกลุ่มอายุต่างๆ
Severity of disease
Neurological sign
• Moro reflex, grasp reflex หรอ rooting reflex ซึ่งตรวจพบได้จะหายไปเมื่ออายุ 3-4 เดือน
•Babinski plantar response อาจเป็นปกติได้ในเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี
•parachutte reflex ซึ่งควรจะตรวจพบเมื่ออายุ ระหว่าง8-10 เดือน
Relationship with Child and parent
ให้ความสนใจ และเอาใจใส่ในอาการเจ็บป่วยของผู้ป่วยและคําบอกเล่าของญาติ
เข้าใจ เห็นใจ และเป็นกันเอง
ละเว้นการวิพากษ์วิจารณ์
บิดามารดาส่วนมากจะเป็นทุกข์และกังวลในความเจ็บไข้
การวิเคระห์ผลการตรวจทางห้องปฎิบัติการเบื้องต้น
การตรวจนับเม็ดเลือดแดง Red blood cell ( RBC ) count
ค่าปกติ 4.5 – 6.0 x 106 cell/mm3
สูงกว่าปกติพบในภาวะ
polycythemia
ต่ำกว่าปกติพบในภาวะ
anemia
การตรวจนับเม็ดเลือดขาว White blood cell ( WBC ) count
ค่าปกติ(total) 4 – 11 x 103 cell/mm3
(4,000 - 11,000)
ถ้ามากกว่า 11,000/ mm3 เป็นภาวะ leukocytosis พบได้ใน acute infections, uremia,steroid, hemorrhage, leukemia
ถ้าน้อยกว่า 4,000/ mm3 เป็นภาวะ leukopeniaพบได้ในผู้ที่ได้ร้ับการฉายรังสี aplastic anemia,infectious mononucleosis, septicemia,compromise host
การวัดความเข้มข้น ของฮีโมโกลบิน Hemoglobin ( Hgb )
ผู้ชาย 14 – 18 gm/dl
ผู้หญิง 12 – 16 gm/dl
การวัดความเข้มข้นของเลือด Hematocrit ( Hct )
ผู้ชาย 40 – 54 %
ผู้หญิง 37 – 47 %
การมี Hgb และ Hct เพิ่มขึ้นอาจเกิดจาก
ภาวะเม็ดเลือดแดงมากผิดปกติ (Polycythemia)
ภาวะร่างกายขาดน้ำ (Dehydration)
โรคหัวใจพิการแต่กําเนิด (Congenital Heart disease)
การอาศัยอยู่ในความกดอากาศสูง (High altitude)
การสูบบุหรี่จัด (Heavy smokers)
การมี Hgb และ Hct ลดลงเกิดได้จาก
ภาวะโลหิตจาง (Anemia)
ภาวะมีคั่งในหลอดเลือด (hemodilution)
ภาวะเสียเลือด (Blood loss or hemorrhage )
ภาวะเม็ดเลือดแดงแตกสลาย (Hemolysis)
การตังครรภ์ (Pregnancy)
การตรวจนับเกร็ดเลือด Platelet ( Plt )
ค่าปกติ 150,000 – 400,000/mm3
■ ถ้ามี platelets น้อยกว่า 100,000/ mm3 ❑ คือภาวะ thrombocytopenia
■ ถ้ามี platelets น้อยกว่า 50,000/ mm3 ❑ มีแนวโน้มที่จะเกิดเลือดออกหยุดยากในการผ่าตัด
■ ถ้ามี platelets น้อยกว่า 20,000/ mm3 ❑ spontaneous bleeding
■ ถ้ามี platelets น้อยกว่า 10,000/ mm3
การตรวจคุณสมบัติของเม็ดเลือดแดง Red blood cell indices
ขนาด--->• Microcytosis• Macrocytosis• Anisocytosis
ความเข้ม--->• Hypochromia
รูปร่าง---> Poikilocytosis : Target cell, Schistocyte, tear drop
Urine Analysis
stool analysis
การแปลผล Chest X-rayเบื้องต้น
ดูกระบังลม (Diaphragm) ■ กระบังลมผิวเรียบขางขวาอยู่สูงกว่าข้างซ้าย
ดูหัวใจ (Heart)
รูปร่าง■ ขนาด ปกติขนาดเงาหัวใจจะใหญ่ไม่เกิน“ครึ่งหนึ่ง” ของความกว้างเงาทรวงอก
■ ตำแหน่ง
■ ขนาดห้องหัวใจต่างๆ
■ หลอดเลือดอื่น ๆที่เห็นได้
ดูมุมชายปอด
costophrenic angles
มุมชายปอดสองข้างเรียบคม
Blunt costophrenic angle
ดูขั้วปอด (Hilar region)
ดูเนื้อปอด (Lung Fields)
ปอดบวมมีน้ำในถุงลมปอด (Infiltrates)
■ ปอดอักเสบ (Increased interstitial markings)
■ ลมในเยื่อหุ้มปอด (Pneumothorax)
■ น้ำในเยื่อหุ้มปอด (Pleural effusion)
■ ก้อน (Mass)
การอ่านผลตรวจคลื่นหัวใจ(EKG)
Electrocardiography(EKG)การบันทึกกระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้นขณะที่หัวใจบีบและคลายตัว
P wave – การบีบตัวของหัวใจห้องบน
QRS complex – การบีบตัวของหัวใจห้องล่าง,การบีบตัวของหัวใจห้องล่าง
T wave – การคลายตัวของหัวใจห้องล่าง
นางสาวทิพย์สุดา สนิทพจน์ รหัสนักศึกษา 601410067-1