Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินภาวะสุขภาพชุมชนและการวินิจฉัยชุมชน - Coggle Diagram
การประเมินภาวะสุขภาพชุมชนและการวินิจฉัยชุมชน
การวางแผนแก้ไขปัญหา (planning)
ความหมาย
การวางแผนเป็นกระบวนการตัดสินใจเกี่ยวกับการกำหนดความต้องการ วิธีการปฏิบัติ และผลของการกระทำในอนาคต
โดยใช้หลักวิชาการ เหตุผลของข้อมูลและปัญหามาประกอบการพิจารณา ทำให้ทราบว่าใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อใด และอย่างไร เพื่อให้การแก้ปัญหาเป็นไปในแนวทางที่กำหนด
ประเภทของแผน
1.แผนระดับสูง
แผนนโยบาย
แผนยุทธศาสตร์หรือแผนกลยุทธ์
แผนมโนมติ
2.แผนระดับปฏิบัติการหรือแผนปฏิบัติการ เป็นแผนชั้นรองลงมา
แผนงาน (Program)
กลุ่มกิจกรรมตั้งแต่ 2 โครงการขึ้นไปที่มุ่งบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายอย่างเดียวกัน หรือใกล้เคียงกัน
โครงการ (Project)
คือกลุ่มของกิจกรรมที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันมุ่งตอบสนองเป้าหมายในแผนงานเดียวกัน
กิจกรรม (Activity)
งาน (Task)
แบ่งตามระยะเวลา
แผนระยะปานกลาง ระยะดำเนินงานอยู่ระหว่าง 2-5 ปี
แผนระยะสั้น ระยะดำเนินงานอยู่ระหว่าง 2 ปี
แผนระยะยาว ระยะดำเนินงาน 5-10 ปี ขึ้นไป
ลักษณะของแผนที่ดี
1.มีความชัดเจน
2.มีความสมบูรณ์
3.มีความแม่นตรง
4.มีความครอบคลุม
5.มีความยืดหยุ่น
6.มีความเป็นพิธีการ
7.มีความง่ายในการปฏิบัติ
8.มีความง่ายในการควบคุม
9.มีความประหยัด
ความสำคัญของการวางแผน
การวางแผนทำให้การปฏิบัติงานต่างๆ เป็นไปโดยประหยัด มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล
การวางแผนเป็นเครื่องมือในการควบคุมงานของนักบริหาร เพื่อติดตาม ตรวจสอบ การปฏิบัติงานของฝ่ายต่างๆ ให้เป็นไปตาม นโยบาย และเป้าหมายที่ต้องการ
การวางแผนเป็นศูนย์กลางการประสานงาน
การวางแผนเป็นเครื่องช่วยให้มีการตัดสินใจอย่างมีหลักเกณฑ์
ขั้นการประเมินภาวะสุขภาพชุมชน
(community assessment)
ความหมาย
การที่พยาบาลอนามัยชุมชนเข้าไปศึกษาชุมชนเพื่อหาข้อมูลและประเมินสภาพของชุมชนในด้านต่าง ๆ ทั้งกายภาพ ชีวภาพ ความเป็นอยู่ ระบบวิธีคิด อาขีพ ความสัมพันธ์ในชุมชน สภาวะด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม วัฒนธรรม ตลอดจนปัญหาและปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชน ทั้งนี้เพื่อนำมาประกอบการตัดสินใจในการวางแผนพัฒนาอนามัยชุมชนต่อไป ซึ่งการประเมินชุมชนนั้นต้องอาศัยความร่วมมือและการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อที่จะได้ข้อมูลตรงตามสภาพความเป็นจริง และเป็นความต้องการพัฒนาของชุมชนอย่างแท้จริง
ขั้นตอนการศึกษาชุมชน
การวิเคราะห์ข้อมูล (Data analysis)
1.ข้อมูลเชิงปริมาณ
1.1 Descriptive Stat.
ข้อมูลทั่วไปส่วนบุคคล เช่น อายุ เพศ การศึกษา อาชีพ รายได้
Mean
SD.
Percentage
ข้อมูลด้านสุขภาพ อัตราเกิด อัตราตาย อัตราความชุก อัตราอุบัติการณ์
1.2 Inferential Stat.
T-Test
Chi-Square etc.
ข้อมูลเชิงคุณภาพ
2.1 การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ( Content Analysis)
การนำเสนอข้อมูล (Data Presentation)
วิธีการนำเสนอ แบ่งเป็น
1.การนำเสนอโดยปราศจากแบบแผน
1.1 การนำเสนอเป็นบทความ
1.2 การนำเสนอเป็นบทความกึ่งตาราง
2.การนำเสนอโดยมีแบบแผน
2.2 การนำเสนอด้วยกราฟ
2.2.2 ฮีสโตรแกรม
2.2.3รูปหลายเหลี่ยมแห่งความถี่
2.2.1 กราฟเส้น
2.3 การนำเสนอด้วยแผนภูมิ
2.3.2 แผนภูมิกงหรือวงกลม
2.3.3 แผนภูมิภาพ
2.3.1 แผนภูมิแท่ง
2.3.1.2 แผนภูมิแท่งซับซ้อน
2.3.1.3 แผนภูมิแท่งเชิงประกอบ
2.3.1.1 แผนภูมิแท่งเชิงเดี่ยว
2.3.1.4 แผนภูมิแรเงาซ้อนเหลื่อมกัน
2.3.4 แผนภูมิทางภูมิศาสตร์
2.3.4.2 แผนที่แบบเข็มหมุด
2.3.4.3 แผนที่แบบแรเงาหรือระบายสี
2.3.4.1 แผนที่แบบจุด
2.3.5 แผนภูมิเพื่อจุดประสงค์พิเศษ
2.3.5.2 แผนภูมิองค์การ
2.3.5.1 แผนภูมิการไหลเวียน
2.1 การนำเสนอเป็นตาราง
2.1.2 ตารางสองลักษณะ (ตารางสองทาง)
2.1.3 ตารางซับซ้อน
2.1.1 ตารางลักษณะเดียว (ตารางทางเดียว)
การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
1.การรวบรวมข้อมูล
ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data)
ข้อดี : ได้ข้อมูลครบตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ ทันสมัย
ข้อเสีย : เสียเวลา งบประมาณ
รวบรวมข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลโดยตรง
ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data)
ข้อดี : ไม่สิ้นเปลือง กำลังคน หรือค่าใช้จ่าย
ข้อเสีย : อาจไม่ได้ข้อมูลครบถ้วนตามที่ต้องการ
รวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่มีอยู่แล้ว
รายละเอียดของข้อมูลที่ต้องรวบรวมข้อมูล
2) ประชากรในชุมชน
โครงสร้างประชากร
ความหนาแน่นของประชากร
วัฒนธรรมของชุมชน
ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรค
อัตราการเกิด อัตราการตาย อัตราป่วยตาย การเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อและไม่ติดต่อ ฯลฯ
พฤติกรรมการบริโภคของชุมชน
3) ระบบสังคมชุมชน
ระบบสาธารณสุข
ระบบสาธารณูปโภค
ระบบเศรษฐกิจ
ระบบการเมือง การปกครอง
ระบบการศึกษา
ระบบวัฒนธรรมและแบบแผนการดำเนินชีวิต
1) ที่ตั้งของชุมชน
ขอบเขตของชุมชน
สภาพพื้นที่ตั้งของชุมชน
เครื่องมือ/ วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล (Methods/Tools)
การวัดและประเมิน(Measurement): BP, blood sugar, waist circumference, BMI, ADL
การทดสอบ (Test): Timed up and go test, Child development
การใช้แบบสอบถาม (Questionnaire): การรับประทานอาหาร การป้องกันตัวไม่ให้ติด COVID 19
การสัมภาษณ์/สัมภาษณ์เชิงลึก
การสำรวจ (Survey) : สำมะโนประชากร
การสนทนากลุ่ม
การสังเกต (Observation) : พฤติกรรมสุขภาพ สิ่งแวดล้อม
3.การเตรียมผู้สำรวจหรือผู้รวบรวมข้อมูล
4.การกำหนดกลุ่มตัวอย่าง
5.การกำหนดวิธีการรวบรวมข้อมูล
6.การบันทึกข้อมูล
7.การวิเคราะห์ข้อมูล
8.การนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ขั้นการวินิจฉัยชุมชน (Community Diagnosis)
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
(Priority setting)
2.3 ความยากง่ายในการแก้ปัญหา มีทรัพยากรเพียงพอ เวลา ความรู้ด้านวิชาการ กฎหมาย ศีลธรรม
2.4 ความสนใจหรือความวิตกกังวลของชุมชนต่อปัญหา ประชาชนเห็นว่าเป็นปัญหาที่สำคัญและวิตกกังวลต่อปัญหา
2.2 ความรุนแรงของปัญหา ก่อให้เกิดความเสียหาย เกิดความพิการ อันตรายถึงแก่ความตาย
2.1 ขนาดของปัญหา จำนวนผู้ที่ประสบปัญหาหรือได้รับผลกระทบ
การระบุสาเหตุ และทำโยงใยสาเหตุของปัญหา
(Identify Cause of Problem and Web of Causation)
3.1ชนิดของสาเหตุ (Type of Causation)
สาเหตุทางตรง
สาเหตุทางอ้อม
3.2 ชนิดของโยงใยสาเหตุของปัญหา (Type of web of causation)
โยงใยสาเหตุทางทฤษฎี (Theoretical Web of causation)
โยงใยสาเหตุที่เกิดขึ้นจริง (Causal Web of causation)
1.การระบุปัญหา (Problem Identification)
กระบวนการกลุ่ม (Nominal Group Process)
5D
2.พิการ/การไร้ความสามารถ (disability)
3.โรค (disease)
4.ความไม่สุขสบาย (discomfort)
5.ความไม่พึงพอใจ (dissatisfaction)
1.ตาย (death)
ใช้เกณฑ์ ตัวชี้วัดด้านสุขภาพ
เกณฑ์จปฐ.
ตัวชี้วัดการดำเนินงานด้านสุขภาพของกระทรวงของจังหวัด
ความหมาย
เป็นการประเมินเพื่อให้ทราบว่าอะไรคือปัญหา อะไรคือสาเหตุ และงบประมาณที่จำกัดจึงต้องจัดลำดับความสำคัญของปัญหาว่าจะแก้ไขปัญหาใดก่อนหลัง