Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Metabolism
of
Fatty Acid - Coggle Diagram
Metabolism
of
Fatty Acid
เป็นกิจกรรมทางเคมีที่เกิดขึ้นเฉพาะสิ่งมีชีวิตเท่านั้น เช่น การสร้างพลังงาน การเจริญเติบโต การซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ รวมทั้งการก าจัดของเสีย ขบวนการเมแทบอลิซึมแบ่งออกได้เป็น 2 แบบ
❑ Anabolism หมายถึง ปฏิกิริยาที่สร้าง หรือรวมตัวเอาโมเลกุลขนาดเล็กให้เป็นโมเลกุลขนาดใหญ่ ซึ่งต้องการพลังงาน เรียกว่าEndergonic เช่น เกิดการรวมตัวของกลูโคสหลายโมเลกุล เกิดเป็นแป้ง , ไกลโคเจน
❑ Catabolism หมายถึง ปฏิกิริยาที่ย่อยสลายสารประกอบขนาดใหญ่ให้เป็นสารโมเลกุลขนาดเล็ก และปล่อยพลังงานเคมีที่อยู่ในพันธะโมเลกุลนั้นๆ เรียกว่า Exergonic เช่น การย่อย แป้ง 👉 กลูโคส👉 ATP
นอกจากการเสียหรือรับพลังงานแล้ว ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในสิ่งมีชีวิตจะมีการถ่ายทอดอิเล็กตรอน เรียกว่า ปฏิกิริยาoxidation และ reduction
oxidation คือ ปฏิกิริยาที่โมเลกุลเกิดการสูญเสียอิเลคตรอน reduction คือ ปฏิกิริยาที่โมเลกุลได้รับอิเลคตรอน
❑ไขมันส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของไตรเอซิลกลีเซอรอล (triacylglycerol) หรือไตรกลีเซอไรด์ (triglyceride)โดยไตรเอซิลกลีเซอรอล 1 กรัม จะให้พลังงานประมาณ 38 kJ ซึ่งให้พลังงานมากกว่าโปรตีนและคาร์โบไฮเดรตเกือบ 2 เท่า ❑ในการที่จะย่อยไตรเอซิลกลีเซอรอลนั้น ไตรเอซิลกลีเซอรอลจะต้องเปลี่ยนจากรูปที่ไม่ละลายน้ำไปเป็นรูปของไมเซลล์ (micelles) โดยต่อมน ้าดีจะหลั่งน ้าดีไปคลุกเคล้ากับไตรเอซิลกลีเซอรอลที่ล าไส้เล็ก ทำให้เอนไซม์ไลเปส (water – soluble lipase) ทำหน้าที่ย่อยไตรเอซิลกลีเซอรอลแล้วจะได้เป็นกรดไขมันอิสระ (free fatty acids) กลีเซอรอล (glycerol)
❑ประมาณ 95% ของพลังงานทั้งหมดของไตรเอซิลกลีเซอรอลจะยังคงอยู่ในรูปของสายโซ่ของกรดไขมัน
❑กรดไขมัน จากการย่อยอาหาร จะถูกดูดซึมที่ล าไส้เล็กแล้วสังเคราะห์ขึ้นใหม่เป็น triacylglycerol
❑Triacylglycerol + cholesterol + protein ได้เป็น Chylomicrons
❑Chylomicrons สามารถเคลื่อนที่ไปตามกระแสเลือดสู่เนื้อเยื่อไขมัน (Adipocyte) เพื่อเก็บไว้เป็นพลังงาน
❑Triacylglycerol ในเนื้อเยื่อไขมัน (Adipocyte) จะถูกย่อยด้วยเอนไซม์ Triacylglycerol Lipase ได้เป็นglycerol กับ กรดไขมัน
❑กรดไขมัน ถูกส่งไปส่วนต่าง ๆ ของร่างกายโดยอาศัยไปกับ serum albumin
❑แคตาบอลิซึมของกรดไขมัน เป็นปฏิกิริยาออกซิเดชั่น เกิดในไมโตคอนเดรีย
❑การออกซิไดซ์กรดไขมันเกิดที่ C ต าแหน่งที่3 (เบต้าคาร์บอน)เรียกว่า ปฎิกิริยาเบต้าออกซิเดชัน
การกระตุ้นกรดไขมัน (Fatty acid activation steps)
การพากรดไขมันเข้าสู่ไมโทครอนเดีย
ปฎิกิริยาเบต้าออกซิเดชัน
-
NADPH
นิโคตินาไมด์อะดินีนไดนิวคลีโอไทด์ฟอสเฟต เป็นโคแฟกเตอร์ที่ใช้ในการสังเคราะห์ กรดไขมัน นิวคลีโอไทด์และกรดนิวคลีอิก ซึ่งต้องใช้NADPHเป็นตัวให้อิเล็กตรอน
❑NADPH ต่างจาก NADH ตรงที่มีหมู่ฟอสเฟตเพิ่ม ที่คาร์บอนต าแหน่งที่ 2 ของน้ำตาลไรโบสซึ่งจับกับเบสอะดีนีน
-