Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรัก ความlove - Coggle Diagram
ความรัก ความlove
ประวัติศาสตร์
ความรักในมุมศาสนา
ศาสนาคริสต์
คริสต์ศาสนิกชนเข้าใจว่าความรักมาจากพระเจ้า
ในศาสนาคริสต์ นิยามความรักในทางปฏิบัติแล้ว สามารถสรุปได้ดีที่สุดโดยนักบุญโทมัส อควีนาส ผู้นิยามความรักไว้ว่าเป็น "การหวังดีต่อคนอื่น" หรือปรารถนาให้ผู้อื่นประสบความสำเร็จ ซึ่งเป็นคำอธิบายของความต้องการของคริสต์ศาสนิกชนที่จะรักผู้อื่น รวมทั้งศัตรูของตนด้วย ตามคำอธิบายของโทมัส อควีนาส ความรักแบบคริสต์ศาสนิกชนมาจากความต้องการเห็นผู้อื่นประสบความสำเร็จในชีวิต คือ การเป็นคนดี
ศาสนาพุทธ
ในศาสนาพุทธ "กาม" เป็นความรักแบบหมกมุ่นในโลกีย์และเกี่ยวกับเพศ และเป็นอุปสรรคขัดขวางการตรัสรู้ เพราะเป็นความเห็นแก่ตัวอย่างหนึ่ง
ความรักร่วมเพศ
ชายรักชาย
คู่รักร่วมเพศคู่แรกของโลกที่เคยถูกบันทึกไว้นั้น มีมาตั้งแต่ 2,400 ปี ก่อนคริสตกาลแล้ว คู่รักร่วมเพศคู่แรกของโลกเป็นคู่ชายกับชายชาวอียิปต์ชื่อ นัมโฮเทป และ นิอังค์คานุม ซึ่งเป็นบริวารของฟาโรห์ในราชวงศ์ลำดับที่ 5 ของอาณาจักรอียิปต์โบราณ โดยทั้งคู่ถูกฝังอยู่ในหลุมฝังศพเดียวกันและมีข้อความเป็นภาษาเฮียโรกลิฟฟิกจารึกไว้ว่า "อยู่ด้วยกันในชีวิต และอยู่ด้วยกันในความตาย" ซึ่งการฝังศพร่วมกันนี้เปรียบเสมือนกับการแต่งงานในสมัยนั้น และข้อความที่จารึกไว้ก็เป็นเหมือนคำสาบาน
-
หญิงรักหญิง
หญิงรักหญิงนั้น มีบันทึกว่าเกิดขึ้นจากกวีสาวชั้นนำชาวกรีก ที่อาศัยอยู่ในเกาะเลสบอสในแถบเอเชียไมเนอร์ยุค 580 ปีก่อนคริสตกาล มีชื่อว่า แซพโฟ ซึ่งเป็นทั้งกวีและครู ที่คอยสอนเด็กสาวๆ บนเกาะนั้น และในบทกวีที่เธอแต่ง มักพูดถึงเรื่องความรัก กามารมณ์ ความอิจฉาริษยา และความโหยหา ซึ่งมุ่งเน้นไปที่ผู้หญิงเป็นหลัก
-
ความรักคืออะไร
ความรัก เป็นความรู้สึก และทัศนคติ ซึ่งมีตั้งแต่ความชอบ ระหว่างบุคคล มาจากอารมณ์การดึงดูดและความผูกพัน
-
ความรักของจิตวิยา
ในทางจิตวิทยาบรรยายความรักไว้ว่าเป็นปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้และสังคม นักจิตวิทยา โรเบิร์ต สเติร์นเบิร์ก กำหนดทฤษฎีสามเหลี่ยมของความรักโดยให้เหตุผลว่าความรักประกอบด้วยองค์ประกอบสามอย่างที่แตกต่างกัน ได้แก่ ความใกล้ชิด การผูกมัด และความหลงใหล ความใกล้ชิดเป็นรูปแบบที่บุคคลสองคนแบ่งปันความเชื่อมั่นและรายละเอียดหลายประการของชีวิตส่วนตัว และโดยปกติแล้วจะแสดงออกในรูปของมิตรภาพและความสัมพันธ์แบบรักโรแมนติก ส่วนการผูกมัดนั้น เป็นการคาดหวังว่าความสัมพันธ์นี้จะคงอยู่ถาวร ส่วนประการสุดท้ายและเป็นรูปแบบทั่วไปของความรักนั้นคือการดึงดูดและความหลงใหลทางเพศ ความรักแบบหลงใหลนั้นถูกแสดงออกในการหลงรักเช่นเดียวกับรักโรแมนติก รูปแบบทั้งหมดของความรักนั้นถูกมองว่าเกิดจากสามองค์ประกอบนี้ในสัดส่วนที่แตกต่างกัน[17] นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน ซิก รูบิน ใช้การจำกัดความในทางจิตมิติในคริสต์ทศวรรษ 1970 งานของเขากล่าวว่าสามปัจจัยที่ก่อให้เกิดความรักนั้นประกอบด้วยความผูกพันทางอารมณ์ ความเอื้ออาทร และความใกล้ชิด
-
-
-
-
-
-