Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน - Coggle Diagram
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน
กระบวนการวินิจฉันชุมชน
จัดลำดับความสำคัญเพื่อนำมาวางแผน
5.วางแผนปฏบัติการ
การวินิจฉัยปัญหา
การดำเนินงานตามแผน
วิเคราะห์ข้อมูล
ประเมินผลการปฏบัติงาน
รวบรวมข้อมูล
ขั้นตอนที่1. การประเมินชุมชน (community assessment)
ขั้นตอนการประเมินชุมชน
การรวบรวมข้อมูล
ข้อมูลทัวไปของชุมชน ข้อมูลคุณลักษณะประชากร ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคม ข้อมูลด้านสุขภาพ ข้อมูลด้านพฤติกรรมสุขภาพ ข้อมูลด้านการอนามัยสิงแวดล้อมของชุมชน ข้อมุลก้านบริการสุขภาพ ข้อมูลทีเปนศักยภาพของชุมชน
ชนิดของข้อมูล
ข้อมูลเชิงปริมาณ
ข้อมูลเชิงคุณภาพ
เ ครืองมือในการเก็บข้อมูล
แบบประเมินตนเอง
แบบรายงานตนเอง
แนวคําถาม
แบบสัมภาษณ์
แหล่งข้อมูล
ข้อมูลปฐมภูมิ
ข้อมูลทุติยภูมิ
การวิเคราะห์ข้อมูล
การตรวจสอบหรือบรรณาธิกรข้อมูล การแยกประเภทของข้อมูล การแจกแจงความถี การคํานวนค่าทางสถิติ
การทำแผนที่
การนำเสนอข้อมูล
การนําเสนอในรูปตาราง
การนําเสนอข้อมูลในรูปกราฟและแผนภูมิ
การนําเสนอในรูปบทความ
การนําเสนอในลักษณะกึงตารางกึงบทความ
การสรุปผลข้อมูล
การประเมินชุมชน (community assessment) หมายถึง การที่พยาบาลอนามัยชุมชนเข้าไปศึกษาชุมชนเพื่อหาข้อมูลและประเมินสภาพของชุมชนในด้านต่าง ๆ ทั้งกายภาพ ชีวภาพ ความเป็นอยู่ ระบบวิธีคิด อาขีพ ความสัมพันธ์ในชุมชน สภาวะด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม วัฒนธรรม ตลอดจนปัญหาและปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชน ทั้งนี้เพื่อนำมาประกอบการตัดสินใจในการวางแผนพัฒนาอนามัยชุมชนต่อไป ซึ่งการประเมินชุมชนนั้นต้องอาศัยความร่วมมือและการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อที่จะได้ข้อมูลตรงตามสภาพความเป็นจริง และเป็นความต้องการพัฒนาของชุมชนอย่างแท้จริง
ขั้นตอนที่2. การวินิจฉัยปัญหาอนามัยชุมชน (community diagnosis)
การวินิจฉัยปัญหาอนามัยชุมชน (community diagnosis) เป็นการประเมินเพื่อให้ทราบว่าอะไรคือปัญหา อะไรคือสาเหตุ และงบประมาณที่จำกัดจึงต้องจัดลำดับความสำคัญของปัญหาว่าจะแก้ไขปัญหาใดก่อนหลัง ขั้นตอนการวินิจฉัยปัญหาอนามัยชุมชน ประกอบด้วย
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา (Priority Setting)
การศึกษาสาเหตุของปัญหาอนามัยชุมชน
การระบุปัญหาอนามัยชุมชน (Identify problem)
การวินิจฉันถึงปัญหาด้านอนามัยชุมชน มีขั้นตอนดังนี้
การระบุปัญหาอนามัยชุมชน (Identify problem)
ใช้หลัก 5 D
3.โรค (disease)
4.ความไม่สุขสบาย (discomfort)
2.พิการ/การไร้ความสามารถ (disability)
5.ความไม่พึงพอใจ (dissatisfaction)
ตาย
1.2 เปรียบเทียบกับเกณฑ์หรือค่ามาตรฐานสากล เช่น องค์การอนามัยโลก หรือ จปฐ
1.3 กระบวนการกลุ่ม (nominal group process) โดยให้ชุมชน ผู้นำ หรือประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจว่าอะไรเป็นปัญหา เสนอเสียงสนับสนุนรับรองปัญหา
2.การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา (Priority Setting)
ความร่วมมือของชุมชนในการแก้ปัญหา
ความยากง่ายในการแก้ปญหา
ความรุนแรง
ขนาด
การศึกษาสาเหตุของปัญหาอนามัยชุมชน
หลังจากได้ปัญหาอนามัยชุมชน และจัดเรียงลำดับความสำคัญของปัญหาแล้ว สิ่งที่ต้องดำเนินการต่อไป คือ การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา หาข้อมูลสนับสนุนปัญหาเพิ่มเติม เพื่อให้รู้สาเหตุที่แท้จริง ปัจจัยส่งเสริมที่ทำให้เกิดปัญหานั้น ๆ ซึ่งจะทำให้สามารถวางแผนแก้ปัญหาได้ตรงตามความจริง
ขั้นตอนที่3. การวางแผนแก้ปัญหาอนามัยชุมชน (community planning)
การวางแผนแก้ปัญหาอนามัยชุมชน (community planning)
การวางแผนเป็นกระบวนการตัดสินใจเกี่ยวกับการกำหนดความต้องการ วิธีการปฏิบัติ และผลของการกระทำในอนาคต โดยใช้หลักวิชาการ เหตุผลของข้อมูลและปัญหามาประกอบการพิจารณา ทำให้ทราบว่าใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อใด และอย่างไร เพื่อให้การแก้ปัญหาเป็นไปในแนวทางที่กำหนด
ประเภทของแผน
แผนระยะยาว ระยะดำเนินงาน 5-10 ปี ขึ้นไปมีลักษณะเป็นนโยบายหรือหลักการที่กำหนดขึ้น มีนโยบาย และทิศทางการแก้ปัญหาอย่างกว้างๆ เพื่อถือปฏิบัติและเป็นแนวทางในการควบคุมการกระทำ เช่น แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
แผนระยะปานกลาง ระยะดำเนินงานอยู่ระหว่าง 2-5 ปี เป็นแผนที่อาศัยกรอบเค้าโครงจากแผนระยะยาว เช่น แผนระดับกระทรวง
แผนระยะสั้น ระยะดำเนินงานอยู่ระหว่าง 2 ปี ลงไป อาศัยเค้าโครงจากแผนระยะปานกลางและแผนที่กำหนดกิจกรรมเพียงครั้งเดียว เช่น แผนระดับท้องถิ่น
ขั้นตอนที่ 5. การประเมินผลแผนงานโครงการ (community evaluation)
การประเมินผล หมายถึง การจัดเก็บข้อมูลทุกๆ ด้านมาวิเคราะห์ปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติและประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานตามโครงการในทุกขั้นตอน ซึ่งจะช่วยให้สามารถขจัดปัญหาข้อขัดข้อง และปรับปรุงการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพในทุกๆ ขั้นตอนต่อไปในอนาคต
ขั้นตอนที่ 4. การปฏิบัติตามแผนงาน (community implementation)
การปฏิบัติตามแผนงาน (community implementation) เป็นการนำโครงการซึ่งได้วางแผนไว้แล้วมาปฏิบัติ โดย
ผสมผสานการทำงานของหลายหน่วยงานเข้าด้วยกัน (intersectoral coordination)
กระตุ้นให้ประชาชนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรม (community participation)
นำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม (appropriate technology)
จัดบริการต่าง ๆ ให้ต้องครอบคลุมผู้รับบริการ (accessibility)
การทำแผนปฏิบัติงาน มีขั้นตอนดังนี้
เตรียมความพร้อมของทีม การประชุมปรึกษา กำหนดตัวบุคคลและการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ กำหนดแนวทางการประสานงาน
เตรียมความพร้อมของทรัพยากรและงบประมาณ เครื่องมือที่จะนำไปใช้
การประชาสัมพันธ์ แจ้งให้ประชาชนทราบ วันเวลา วัตถุประสงค์ ให้ได้รับรู้ ตระหนัก และมีส่วนร่วมในการทำงาน
ขั้นดำเนินงาน
กำหนดกิจกรรมหรือแนวการปฏิบัติงานแก้ปัญหา ผู้รับผิดชอบ ทรัพยากร งบประมาณ
การปฏิบัติงานเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องต้องมีการบริหารจัดการ การอำนวยการ มอบหมายงาน จำเป็นอย่างยิ่งต้องมีการควบคุมกำกับ เพื่อดูว่าการดำเนินงานมีความก้าวหน้ามากน้อยเพียงใด มีปัญหาหรืออุปสรรคหรือไม่