Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกทีมีโรคติดเชือร่วมกับการตั้งครรภ…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกทีมีโรคติดเชือร่วมกับการตั้งครรภ์
:star: :<3: :<3:
โรคหูดหงอนไก่ (condyloma acuminate) :red_flag:
การวินิจฉัย :<3:
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ โดยทํา pap smear
พบ koilocytosis (halo cell)
การรักษา :<3:
จีไฟฟ้าแสงเลเซอร ์
การคลอดสามารถให้คลอดทางช่องคลอดได้ยกเว้น หูดมีขนาดใหญ่ซึงทําให้ขัดขวางช่องทางคลอด
จีด้วย trichloroacetic acid
อาการและอาการแสดง :<3:
ก้อนสีชมพูนุ่ม ผิวขรุขระ มีสะเกด
ตกขาวมีกลิ่นเหม็น และคัน
หูดขึนรอบๆ ทวารหนัก และในทวารหนัก
คล้ายดอกกระหลํ่า
การพยาบาล :<3:
:check:
ดูแลให้ได้รับการรักษาตามแผนการรักษา เช่น จีด้วย trichloroacetic acid หรือ laser surgery
แนะนําการรักษาความสะอาดของอวัยวะเพศ หลีกเลียงการอับชืนบริเวณอวัยวะเพศ
แนะนําส่งเสริมสุขภาพตนเองให้แข็งแรง
เน้นรับประทานอาหารทีมีประโยชน์ การออกกําลังกายทีพอเหมาะ การลดภาวะเครียด และสังเกตการติดเชือซา
การติดเชื้อไวรัสซิกกา(Zika fever) :red_flag:
อาการและอาการแสดง :check:
ปวดข้อ
ปวดในกระบอกตาเยือบุตาอักแสบ
ออกผืนทีลําตัว และแขนขา
ไข้ ปวดศีรษะ
การตรวจวินิจฉัย :check:
การซักประวัติ
การวินิจฉัยการติดเชือของทารกในครรภ์
การทดสอบทางห้องปฏิบัติการ :<3:
การตรวจหาแอนติบอดี IgM และ IgG
วิธีการตรวจดีเอ็นเอสามารถตรวจได้จากนํ้าเหลือง
วิธี RT-PCR ภายใน 1-3 วันเมือเริมแสดงอาการ
ภาวะแทรกซ้อน :check:
ภาวะศีรษะเล็กแต่กําเนิดของทารกในครรภ์
การรักษา :check:
ให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
ดื่มนําในปริมาณ 2,000-3,000 ลิตรต่อวัน
ยังไม่ให้ยารักษาโรคไข้ซิกาโดยตรง
ให้ยาพาราเซตามอลเพือบรรเทาอาการปวด ลดไข้
ห้ามรับประทานยาแอสไพรินหรือ ยากลุ่มลดการอักเสบ (NSAIDs)
HIV (Human immunodeficiency Virus) :red_flag::red_flag:
อาการและอาการแสดง :<3:
กลุ่มที 2 คล้ายเอดส์ คือ ไข้ ปวดเมือยตามตัว อ่อนเพลีย ผืนตามตัว ปวดศีรษะ เจ็บคอ ผล CD4 ตาากว่า 500-200 cm3
กลุ่มที 3 มีการสัมพันธ์กับเอดส์ ไข้สูงเฉียบพลัน มรีไข้ตาๆ นานกว่า 2-3 เดือน ต่อมนาเหลืองโตไปทัว อาจตรวจพบเยือหุ้มสมองอักเสบชนิดไร้เชืออีกด้วย
กลุ่มที 1 ไม่มีอาการทางคลินิก การตรวจ Elisa ให้ผลบวก
การวินิจฉัย :<3:
การซักประวัติ :red_flag:
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ :red_flag:
confirmatory test
Enzyme–linked Immunosorbent assay (ELISA
การตรวจร่างกาย มีไข้ ต่อมนําเหลืองโต น้ำหนักลด :red_flag:
การติดต่อ :<3:
ทางกระแสเลือด
การมีเพศสัมพันธ์
มารดาสู่ทารก
การรักษา :<3:
การให้ยาต้านไวรัสระหว่างเจ็บครรภ์คลอด :red_flag:
หากคลอดโดยการผ่าตัดให้กินยาก่อนเริมผ่าตัดอย่างน้อย 4 ชม
ในรายที viral load น้อยกว่า 50 copies / ml ไม่ต้องให้ยาระหว่างเจ็บครรภ์คลอด
ให้เพิม AZT 300 mg ทุก 3 ชม หรือ AZT 600 mg ครังเดียวไม่ว่าจะใช้สูตรยาใด
หลีกเลียงการให้ยา Methergine เนืองจากจะทําให้เกิด severe vasoconstriction ได้
การให้ยาต้านไวรัสหลังคลอด :red_flag:
ให้ในทุกราย
มีการติดเชือร่วม เช่น วัณโรค ไวรัสตับอักเสบ บี ไวรัสตับอักเสบ ซี
มีผลเลือดลบ หรือไม่ทราบ
CD4 < 500 cells / mm 3
การให้ยาต้านไวรัสหลังคลอด
AZT ขนาด 4 mg/kg/dose ทุก12 ชม ให้นานต่อเนื่อง 4 สัปดาห์
การพยาบาล :<3:
ระยะหลังครรภ์ :red_flag:
ทารกหลังคลอด ให้ NPV 2 มก/กก ทันที และให้ AZT 2 มก/กก/วัน และติดตามการติดเชือในทารกหลังคลอด 12-18เดือน
แนะนําการปฏิบัติตัวเมือกลับบ้านเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
งดให้นมบุตร
จัดอยู่ห้องแยก
ระยะตั้งครรภ์ :red_flag:
แนะนําวิธีการปฏิบัติตัวปองกันการแพร่กระจายเชื้อ
ให้อยู่ห้องแยก
ให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
หลีกเลียงถุงนาคราแตก หรือรัว คลอดโดยยึดหลัก Universal precaution
ตรวจหาระดับ CD4 ถ้าตากว่า 400 เซลล์ต่อลูกบาศก์มิลลิเมตร อาจพิจารณาให้ prophylaxis pneumocystis carinii pneumonia(PCP)
โรคเริมทีอวัยวะเพศ (Genital herpes simplex infection) :red_flag:
การเกิดโรค :<3:
HSV type 1 เกิดเริมทีปาก (Orolabial herpes infection)
HSV type 2 เกิดโรคเริมทีอวัยวะเพศและทวารหนัก (anogenital herpes infection)
การติดเชื้อ Herpes simplex virus
การวินิจฉัย :<3:
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ :red_flag:
การเพาะเชื้อ (culture)
เซลล์วิทยา (cytology) โดยวิธี Tzancksmear
การตรวจร่างกาย
การซักประวัติ
ภาวะแทรกซ้อน :<3:
ไข้
หนาวสัน
ตาอักเสบ
ซึม
ตุ่มใสๆ
ตับ ม้ามโต
อาการและอาการแสดง : :<3:
อาการปวดแสบปวดร้อนมาก
ไข้ ปวดเมือยตัว
Vesicles ทีผิวหนังของอวัยวะเพศ
ต่อมนําเหลืองโต และอ่อนเพลีย
การรักษา :<3:
กรณีที4มี Herpes lesion ควรได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องเพือหลีกเลียงไม่ให้ทารกได้รับเชือจ ากการสัมผัสสิงคัดหลังในช่องคลอด
การให้ยา antiviral drug เช่น acyclovir, valacyclovir และ famciclovir
ควรให้ยาปฏิชีวนะและดู แลแผลให้สะอาดในรายทีติดเชือแผลไม่สะอาด
การพยาบาล :<3:
ระยะตั้งครรภ์ :red_flag:
ล้างแผลด้วยนาเกลือ 0.9 % หรือสารละลาย zinc sulphate 0.25-1% วันละ 2-3 ครังแนะนําเกียวกับการนังแช่ก้นด้วยนาอุ่น
ดูแลการให้ยาต้านไวรัสตามแผนการรักษา
แนะนําการดู แลแผลให้ แห้งและสะอาดอยู่เสมอ
หลีกเลียงการมีเพศสัมพันธ์ ขณะมีแผลผล ควรใช้ถุงยางอนามัย
ลดความไม่สุขสบายจากการปวดแสบปวดร้อน
ระยะคลอด :red_flag:
หลีกเลียงการทําหัตถการ
เน้นการใช้หลัก Universal precaution
ระยะหลังคลอด :red_flag:
สามารถให้นมได้ตามปกติ ล้างมือก่อน และหลังสัมผัสทารก