Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคติดเชือร่วมกับการตั้งครรภ์ :star: :red_flag: - Coggle Diagram
โรคติดเชือร่วมกับการตั้งครรภ์ :star: :red_flag:
ไวรัสตับอักเสบบี (Hepatitis B) :<3:
ผลกระทบการติดเชือไวรัสตับอักเสบบี :red_flag:
การคลอดก่อนกําหนด
การตกเลือดก่อนคลอด
ทารกนําหนักตัวน้อย
เบาหวานในระหว่างตั้งครรภ์
บทบาทพยาบาลผดุงครรภ์ :red_flag:
การคัดกรองโดยการซักประวัติ
ทารก : Suction ให้เร็วหมดทําความสะอาด
การส่งตรวจเลือดหา HBsAg
คุมกําหนด ตรวจสุขภาพประจําปี
ติดตามความก้าวหน้าไม่กระตุ้นคลอด
Universal Precaution
ป้องกันการแพร่กระจาย
อาการและอาการแสดง :red_flag:
ระยะฟกตัวของโรคตับอักเสบบีประมาณ 60-150 วัน
มีไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลืนใส้ อาเจียน ปวดท้อง
ในรายทีมีอาการรุนแรง มีอาการตัวเหลืองตาเหลือง
ปสสาวะสี เข้ม อุจจาระสีซีด ปวดข้อ
แนวทางการรรักษา :red_flag:
ก่อนการคลอด
ควรหลีกเลียงการทําสูติศาสตร์ หัตถการเพือการช่วยคลอดโดยไม่จําเปน
หากมารดามีปริมาณไวรัสในเลือดสูงกว่า 200,000 IU/mL ให้ TDF 300 mg. วันละ 1 ครัง GA 28-32 สัปดาห์
ระยะหลังคลอด
ติดตามตรวจดูระดับ ALT
ด้านการดูแลทารกแรกเกิดโดยการใช้หลัก universal precaution
TDF 300 mg. วันละ 1 ครัง จนถึง 4 สัปาดห์หลังคลอด
Hepatitis B immunoglobulin (HBIG) (400IU) ขนาด ๐๕ ml. ฉีดเข้ากล้ามทันที หรือภายใน 12 ชัวโมงหลังคลอด ภายใน 7 วันและให้ซาภายใ 1 เดือนและ 6 เดือน
การวินิจฉัยคัดกรองการติดเชื้อ :red_flag:
Hepatitis B Antigen (HBsAg) หากได้ผลเปนบวก มีความรุนแรงของโรคตับและความเสียงต่อการติดเชือจากมารดาสู่ทารก
Anti HBc-IgM: พบในตับอักเสบเฉียบพลัน
Anti HBc-IgG: พบได้ทังในตับอักเสบเฉียบพลัน, เรือรัง หรือแม้แต่ผู้ทีตรวจไม่พบเชือแล้ว
Anti HBc: เปนภูมิคุ้มกันที บอกถึงการเคยติดเชือไวรัสบี
Anti HBe: จะพบหลังจากตรวจไม่พบ HBeAg ในเลือดแล้ว
HBeAg: บอกถึง ความสามารถในการแบ่งตัวของไวรัสตับอักเสบบี (Viral replication)
ซิฟลิส (Syphilis) :<3:
การวินิจฉัย :red_flag:
การตรวจเลือด เปนการตรวจเลือดเพือหา ภูมิคุ้มกันต่อเชือซิฟลิส
การส่งตรวจนาไขสันหลัง
FTA-ABS (Fluorescent Treponemal Antibody Absorption Test)
การตรวจ VDRL หรือ RPR
การรักษา :red_flag:
การรักษาระยะต้น :<3:
อาจลดอาการปวด โดยผสม 1% Lidocaine 0.5-1 ml
Benzathine penicillin G 2.4 mUIM ครังเดียว แบ่งฉีดที สะโพก ข้างละ 1.2 mU
การรักษาระยะปลาย :<3:
อาจลดอาการปวด โดยผสม 1% Lidocaine 0.5-1 ml
Benzathine penicillin G 2.4 mUIM สัปดาห์ละครัง นาน 3 สัปดาห์ แบ่งฉีดทีสะโพก ข้างละ 1.2 mU
ภาวะแทรกซ้อน :red_flag:
เสียงต่อการแท้งหลังอายุครรภ์ 4 เดือน
ทารกตาบอด
การคลอดก่อนกําหนด
ทารกในครรภ์โตช้า
ทารกบวมนา
การพยาบาล :red_flag:
ระยะคลอด :<3:
ป้องกันการติดเชือโดยดูดเมือกออกจากปาก และจมูกโดยเร็ว
จาะเลือดจากสายสะดือทารกเพือส่งตรวจการติดเชือซิฟลิส
เน้นการใช้หลัก Universal precaution
ระยะตั้งครรภ์ :<3:
เน้นการมาฝากครรภ์และตรวจตามนัด โดยเฉพาะการติดตามผลภายหลังรักษาเมือ 6 และ 12 เดือน
แนะนําการรักษาความสะอาดอวัยวะเพศ และการปองกันโรคโดยการสวมถุงยางอนาม
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
แนะนําให้พาสามีมาตรวจและรักษาด้วย เพือปองกันการติดเชื้อซ้ำ
ควรอธิบายให้เห็นความสําคัญของการตรวจคัดกรองซิฟลิสขณะตังครรภ์
ให้การปรึกษาและดูแลทางด้านจิตใจ เปดโอกาสให้ซักถามและระบายความรู้สึก
ระยะหลังคลอด :<3:
สามารถให้นมได้ตามปกติล้างมือก่อนและหลังสัมผัสทารก
อาการและอาการแสดง :red_flag:
Primary syphilis
:<3:
หลังจากได้รับเชือ 10-90 วัน เปนระยะทีมีแผลริมแข็งมีตุ่มแดงทีอวัยวะเพศ ริมฝปาก
Tertiary or late syphilis
:<3:
ทําลายอวัยวะภายในเช่น หัวใจและหลอดเลือดสมอง ตาบอด
Latent syphilis: ไม่แสดงอาการ
:<3:
Secondary syphilis
:<3:
ผืนทีเกิดขึนจะมีลักษณะสีแดงนาตาลไม่คัน พบทัวตัวผ่ามือผ่าเท้า
หัดเยอรมัน (Rubella, German measles) :<3:
การวินิจฉัย :red_flag:
งตรวจทางห้องปฏิบัติการ : ELISA
IgM และ IgG specific antibody ทันทีทีมีผืนขึน หรือ ภายใน 7-10 วันหลังผืนขึน
การซักประวัติการสัมผัสโรค ตรวจร่างกายว่ามีผืนขึนหรือไม่
ควรติดตามการเพิ4มขึ?นของระดับไตเตอร์เป น 4 เท่าใน 2 สัปดาห์
อาการและอาการแสดง :red_flag:
ระยะก่อนผืนออก :<3:
ไข้ต่ำๆ
Koplik's spot จะพบจุดสีขาวเหลืองขนาดเล็กคล้ายเม็ดงาอยู่ทีกระพุ้งแก้ม
ระยะผืนออก :<3:
ผืนแดงเล็กๆ (erythematous maculopapular)
มีตุ่มนูน ผืนแดงหรือสีชมพูขึนทีใบหน้าก่อนจะลามลงมาตามผิวหนัง
ภาวะแทรกซ้อน :red_flag:
หัวใจพิการ
ต้อกระจก
หูหนวก
Congenital Rubella Syndrome
ภาวะทารกพิการแต่กําเนิด
การรักษาพยาบาล :red_flag:
แนะนําพักผ่อนให้เพียงพอ
แนะนําดืมนาให้เพียงพอ จิบบ่อย ๆ
รายทีไม่ต้องการยุติการตังครรภ์ แพทย์อาจพิจารณาฉีด Immunoglobulin
ถ้ามีไข้แนะนํารับประทานยา paracetamal ตามแพทย์สัง
ํสำหรับหญิงตังครรภ์ในระยะ 3 เดือนแรก แพทย์จะแนะนําให้ ยุติการตั้งครรภ์