Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Power (แรงผลักดัน) - Coggle Diagram
Power (แรงผลักดัน)
ความผิดปกติของแรงเบ่ง
(Maternal force)
ผลต่อมารดา
ทำให้ไม่สามารถคลอดได้เองทางช่องคลอด
ตามธรรมชาติ ต้องใช้วิธีทางสูติศาสตร์หัตถการ
ทำให้เกิดอันตรายจากการทำสูติศาสตร์หัตถการ
ผลต่อทารก
ทารกขาดออกซิเจนเนื่องจากใช้เวลาเบ่งยาวนาน
สาเหตุ
-การที่ผู้คลอดได้รับยาแก้ปวดในปริมาณมาก
-ความอ่อนเพลียหรือการเจ็บครรภ์คลอดยาวนาน
-เหนื่อยล้าจากการได้รับน้ำไม่เพียงพอ
การรักษา
การเลือกใช้ชนิดของยาชาและเวลาที่จะใช้อย่างเหมาะสม
สอนวิธีการเบ่งที่ถูกต้อง
อาจใช้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด
การหดรัดตัวของมดลูกน้อยกว่าปกติ
( Hypotonic uterine dysfunction)
การหดรัดตัวของมดลูกที่มีแรงดันในมดลูก
น้อยกว่า 25 มิลลิเมตรปรอทหรือมีการหดรัด
ตัวน้อยกว่า 2 คร้ังใน 10 นาทีหรือท้งั 2 อย่าง
ผลต่อมารดา
1.ผู้คลอดเหน็ดเหนื่อย อ่อนเพลีย หมดแรง
การตายของผู้คลอด เป็นผลมาจากการเจ็บครรภ์คลอดยาวนาน
ผลต่อทารก
ทารกได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ (fetal distress)
ติดเชื้อเมื่อผู้คลอดติดเชื้อโดยเฉพาะการอักเสบของเยื่อหุ้มทารก
สาเหตุ
ร้อยละ 50 ไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริง
การได้ร้บยาแกป้วดหรือยาระงับความรู้สึกมากเกินไป หรือได้รับก่อนเวลาอันควร
มดลูกมีการยืดขยายมากกว่าปกติในรายตั้งครรภ์แฝดหรือแฝดน้ำ
มีความผิดปกติของมดลูก เช่น double uterus, myoma uteri
ขาดการกระตุ้นที่ปากมดลูก พบได้ในรายที่มีส่วนนำไม่กระชับกับปากมดลูกหรือพื้นเชิงกราน
กระเพาะปัสสาวะหรืออุจจาระเต็ม
ผู้คลอดที่ผ่านการคลอดมาหลายคร้ัง
การรักษา
1.การให้สารน้ำที่เพียงพอเพื่อแก้ไขภาวะขาดน้ำของผู้คลอด
2.ตรวจดูว่ามีปัสสาวะคั่งค้างในกระเพาะปัสสาวะหรือไม่
3.ให้ยาระงับปวดในขนาดที่เพียงพอและเหมาะสม
4.ให้การประคับประคองจิตใจให้กำลังใจเพื่อให้คลายความกังวล
5.ประเมินและตรวจให้แน่ชัดว่าไม่มีการผิดสัดส่วนระหว่างขนาดของทารกและช่องเชิงกราน
Tetanic constraction
หดรัดตัวมากกว่าปกติ ปวดมาก
หัดรดตัวนานกว่า 60 วินาทีและถี่มากกว่าปกติ
Constriction ring
ตรวจไม่พบวงแหวนทางหน้าท้อง
หดตัวแรง ไม่สม่ำเสมอ เจ็บครรภ์มาก
มีวงแหวนเหนือรอยคอดของทารก
In-coordinate uterine
ลักษณะ ไม่มีการแผ่กระจายจากยอดมดลูก
ระยะพักมดลูกคลายตัวไม่เต็มที่
หดรัดตัวแรงบริเวณกลาง/ล่างมากกว่ายอดมดลูก
หดรัดตัวไม่สม่ำเสมอ
การหดรัดตัวของมดลูกมากกว่าปกติ
( Hypertonic uterine dysfunction)
การหดรัดตัวของมดลูกที่มีแรงดันในมดลูก
มากกว่า 50 มิลลิเมตรปรอทหรือช่วงของการ
หดรัดตวัแต่ละคร้ังนอ้ยกวา่ 2 นาทีหรือท้งั 2 อย่าง
ผลต่อมารดา
1.ร่างกายอ่อนเพลียเกิดภาวะขาดน้ำ
2.เกิดการติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำเนื่องจากถุงน้าคร่่แตกก่อนคลอดเวลานาน
3.มดลูกแตกทำให้เสียเลือดมาก และอาจเสียชีวิตได้
4.เกิดการตกเลือดหลังคลอด
5.เจ็บปวดมากเนื่องจากเซลล์กล้ามเนื้อของมดลูกขาดออกซิเจน
ผลต่อทารก
1.เกิดภาวะขาดออกซิเจน (Fetal distress)
2.เกิดการติดเชื้อถ้าถุงน้ำคร่่ำแตกนานเกิน 24 ชั่วโมง
3.ศีรษะทารกถูกกดนาน อาจมีเลือดออกที่ใต้เยื่อบุกะโหลกศีรษะ
สาเหตุ
ร้อยละ 50 ไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริง
ขนาดของทารกและช่องเชิงกรานของผู้คลอดไม่ได้สัดส่วน
ส่วนน าของทารกผิดปกติ (Malpresentation) หรืออยู่ในท่าผิดปกติ (Malposition)
ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกไม่ถูกวิธี
การรักษา
1.ให้ยานอนหลับและยาระงับปวดที่มีความแรงพอ เช่น morphine
หรือ meperidine จะทำให้หายปวดและสามารถพักได้
หลังจากนั้นมดลูกจะกลับมามีการหดรัดตัวตามปกติ
2.ถ้ามีภาวะfetal distressต้องรีบผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง