Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Passage - Coggle Diagram
Passage
ความผิดปกติของอวัยวะสืบพันธุ์ ( abnormality of reproductive tract)
ความผิดปกติของปากมดลูก
1.ปากมดลูกตีบ เกิดจากการจี้ด้วยไฟฟ้าเพื่อการรักษา ถ้ามีปัญหาจากปากมดลูกตีบ ต้องผ่าท้องทำคลอด
2.ปากมดลูกแข็ง มักพบในครรภ์แรกที่อายุมาก
3.มะเร็งปากมดลูก
ความผิดปกติของมดลูก
1.มดลูกคว่ำหน้า(anteflexion)
2.มดลูกคว่ำหลัง(retroflexion)
3.มดลูกหย่อนขณะตั้งครรภ์
4.เนื้องอกมดลูก
ความผิดปกติของช่องคลอด
1.ช่องคลอดตีบเหมือนกับการตีบของปากช่องคลอด แต่ถ้าทำให้เกิดการคลอดยากอาจจะต้องผ่าท้องทำคลอดในบางราย
2.เยื่อกั้นในช่องคลอด ถ้ากั้นตลอดแนวมักจะไม่ทำให้เ้กิดการคลอดยาก
3.เนื้องอกเช่น Gartner’s duct cyst,fibroma
ความผิดปกติของรังไข่
เนื้องอกรังไข่อาจทำให้เกิดการคลอดติดขัดได้ถ้าก้อนเนื้องอกนั้นลงมาอยู่ในอุ้งเชิงกราน การรักษาทำโดยการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องร่วมกับการตัดเนื้องอกรังไข่ออกไปพร้อมกัน
ความผิดปกติของปากช่องคลอด
1.ปากช่องคลอดตีบ อาจเป็นโดยกำเนิดหรือเกิดภายหลังการบาดเจ็บหรือการอักเสบมาก่อน การคลอดในภาวะนี้มักทำให้เกิดการฉีกขาดของฝีเย็บ
2.การแข็งตึงของฝีเย็บ (rigid perineum) ช่วยเหลือการคลอดได้โดยการตัดฝีเย็บกวา้งๆเพื่อป้องกันการฉีกขาดเพิ่มเติม
3.การอักเสบหรือเนื้องอกเช่น condyloma acuminata, bartholin abscess,bartholin cyst
ความผิดปกติเนื่องจากกระดูกเชิงกรานแคบ
หรือผิดสัดส่วน(pelvic contraction)
การไม่ได้สัดส่วนกันของศีรษะทารกกับช่องเชิงกราน (Cephalopelbic dixproportion: CPD)
อันตรายต่อผู้คลอดและทารก
ผู้คลอดอ่อนเพลียเกิดภาวะขาดนำ้ และภาวะคีโตซิส เกิดการติดเชื้อ
เกิดเนื้อตายเกิดรูรั่วระหวา่งกระเพาะปัสสาวะกับช่องคลอด
ถุงน้ำทูนหวัแตกก่อนเวล ทารกเกิดการติดเชื้อ หรือมีสายสะดือย้อย
การคลอดติดขัด มดลูกมีลักษณะใกล้แตก
การรักษา
1.ถ้าเกิด CPD ชัดเจน ผ่าตัดเอาทารกออกทางหน้าท้อง
2.สงสัยมี CPD (Borderline disproportion) ทดลองคลอด (Trial of labour) ถ้าไม่สำเร็จ หรือมีความผิดปกติของผู้คลอดหรือทารกในระหว่างการทดลองคลอดควรผ่าตัดเอาทารกออกทางหน้าท้อง
การประเมินภาวะ CPD
2.ผู้คลอดเตี้ยกว่า 140 ซม หรือเดินผิดปกติ ตะโพกเอียง สันหลังคดงอ
3.ในรายที่สงสัยว่าเกิดภาวะ CPD ควรส่งพบแพทย์เพื่อตรวจทางหน้าท้อง
1.ประวัติ เช่น เคยได้รับอุบัติเหตุที่กระดูกเชิงกราน
ข้อห้ามการทดลองคลอด
1.ทารกอยู่ในท่าหรือทรงผิดปกติ เช่น ท่าก้น ท่าหน้า หรือท่าหน้าผาก
2.เคยผ่าตัดที่มดลูก
3.ผู้คลอดครรภ์แรกและอายุมาก
4.มีโรคร่วมกับการตั้งครรภ์เช่น โรคหัวใจเบาหวาน
ความดันโลหิตสูงจากการตังครรภ์
5.ผู้คลอดมีประวัติมีบุตรยาก คลอดยาก และทารกตายคลอด
6.เชิงกรานช่องออกแคบกว่าปกติ และทารกครบกำหนด
ความผิดปกติเนื่องจากกระดูกเชิงกรานแคบ
สาเหตุ
ฮอร์โมนเพศหญิงไม่สมบูรณ์ทำให้
ลักษณะของเชิงกรานไม่เป็นไปตามปกติ
กระดูกเชิงกรานแตกหรือร้าวจากอุบัติเหตุ
ความพิการจากกระดูกสันหลังหรือขามาแต่ในวัยเด็ก
เชิงกรานเจริญไม่เต็มที่
การเจริญเติบโตผิดปกติทำให้เชิงกรานมีรูปร่างปกติ
(gynaecoid)
โรคเกี่ยวกับกระดูก
ชนิด
1.เชิงกรานแคบที่ช่องเข้า (inlet contraction)
2.เชิงกรานแคบที่ช่องกลาง (midpelvic contraction)
3.เชิงกรานแคบที่ช่องออก (outlet contraction)
อันตราย
ต่อมารดา
เกิดการคลอดยาวนานและคลอดยากจากความผิดปกติในการเปิดขยายของปากมดลูก, ถุงน้ำทูนหัวแตกก่อนเวลา, ทำให้เกิดลักษณะการหดรัดตัวชนิดวงแหวนอาจทำให้เกิดมดลูกแตกได้, เกิดการตายของเนื้อเยื่อบริเวณที่ศีรษะทารกกดอยู่นาน, การช่วยคลอดโดยใช้คีมหรือเครื่องดูดสุญญากาศทำได้ยาก
ต่อทารก
สายสะดือย้อยได้ง่ายเนื่องจากถุงน้ำทูนหัวแตกและศีรษะทารกยังไม่เคลื่อนเข้าสู่ช่องเชิงกราน, เลือดออกในกะโหลกศีรษะเกิดอันตรายกับศีรษะทารกและระบบประสาทส่วนกลาง, เกิดการติดเชื้อทำให้กะโหลกศีรษะทารกผิดรูปหรือแตกหักจากการถูกกด
การรักษา
1.การใหย้าระงับปวดหรือยาระงับความรู้สึกควรให้ในเวลาที่เหมาะสม
ไม่ควรใช้ oxytocin หรือระมัดระวังในการใช้ เพราะอาจทำให้มดลูกแตกได้
การช่วยคลอดด้วยเครื่องดูดสุญญากาศจะปลอดภัยกว่าการช่วยคลอดด้วยคีม
4.ผ่าตัดเอาทารกออกทางหน้าท้อง เมื่อมีปัจจัยอื่นที่ไม่ดีร่วมด้วย