Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินและการดูแลภาวะสุขภาพของมารดาหลังคลอดปกติ - Coggle Diagram
การประเมินและการดูแลภาวะสุขภาพของมารดาหลังคลอดปกติ
การเปลี่ยนแปลงของมารดาในระยะหลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงกายวิภาคและสรีรวิทยา
ปากมดลูก
กลับคืนสู่รูปเดิมประมาณ 2 – 3 วัน
บวม จะอ่อนนุ่มมีรอยช้้าและมีรอยฉีกขาดเล็กๆ ซึ่งเสี่ยง ต่อการติดเชื้อได้ง่ายประมาณ 18 ชม.
ฝีเย็บ (Perineum)
อาการปวดบริเวณฝีเย็บฝีเย็บจะมี ลักษณะบวมและอาจมีเลือดออกใต้ผิวหนัง
การท้าความสะอาดบริเวณฝีเย็บและอบแผลด้วย แสง Infrared นาน 15-20 นาทีโดยตั้งไฟห่าง 1 – 2 ฟุตก็จะกระตุ้นให้การไหลเวียนเลือดดีขึ้นลดอาการปวด
น้้าคาวปลา (Lochia)
มีลักษณะเป็นน้้าเลือดปน กมีกลิ่น เฉพาะไม่เหม็นเน่าีและจะค่อยๆจางลงจนหมดไปภายใน 7 – 21 วันหลังคลอดน้้าคาวปลา
แบ่งออกเป็น 3 ระยะคือ
Lochia serosa มีประมาณวันที่ 4 – 9 ลักษณะสีจะจางลงเป็นสีชมพูสีน้้าตาลหรือค่อนข้าง เหลืองมีมูกปน
Lochia alba มีประมาณวันที่ 10 หลังคลอดลักษณะเป็นสีเหลืองจางๆหรือสีขาว
Lochia rubra: 2 – 3 วันแรกหลังคลอดามีลักษณะสีแดงคล้้าและข้น
ผนังหน้าท้อง (Abdominal wall)
งจะอ่อนนุ่มและปวกเปียกในวันแรกๆหลังคลอด
การกลับคืนสู่สภาพเดิมของกล้ามเนื้อหน้าท้องต้องใช้เวลาประมาณ 2 – 3 เดือน
มดลูก (Uterus)
หลังคลอด : สามารถคล้าไปทางหน้าท้องมีลักษณะเป็นก้อนแข็งจากการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกระดับของมดลูกจะอยู่ ที่ระดับสะดือหรือต่้ากว่าเล็กน้อยทั้งนี้เนื่องจากการหย่อนของช่องคลอดผนังมดลูกส่วนล่างและกล้ามเนื้อของ พื้นเชิงกราน (Pelvic floor
ความตึงตัวขึ้นมดลูกจะลดขนาดลงสู่อุ้งเชิงกรานเร็วมากประมาณวันละ
½ -1 นิ้วโดยมดลูกจะลดทั้ง น้้าหนักและขนาดเพื่อกลับคืนสู่สภาพปกติเหมือนก่อนตั้งครรภ์เรียกว่า “มดลูกเข้าอู่”(Involution of uterus)
7 วันหลังคลอดระดับมดลูกจะอยู่กึ่งกลางระหว่างหัวเหน่ากับสะดือหรือประมาณ 3 นิ้วฟุตเหนือหัวเหน่า
6 สัปดาห์หลังคลอดมดลูกจะมีน้้าหนักเท่ากับระยะก่อนตั้งครรภ์
อาการปวดมดลูกมีสาเหตุจากการหดรัดตัวและคลายตัวของกล้ามเนื้อ
เต้านม
่ฮอร์โมนเอสโตรเจนมีผลท้าให้หัวนม (nipple) ลานนม (areolar) ขยายใหญ่และมีสีเข้มขึ้นต่อมไขมันบริเวณลานนม
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
บทบาทการเป้นมารดา