Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Module 5 แนวปฏิบัติที่ดีและกรณีศึกษาของการจัดการความรู้ในชุมชน - Coggle…
Module 5
แนวปฏิบัติที่ดีและกรณีศึกษาของการจัดการความรู้ในชุมชน
สถานการณ์และปัญหาของชุมชนไม้เรียง
จังหวัดนครศรีธรรมราช
1.สถานการณ์และปัญหาของชุมชนไม้เรียง
-เกิดวาตภัยปี 2505
-เกิดอัคคีภัย ปี 2506
-ความผิดพลาดของกิจกรรมการพัฒนาของภาครัฐ
-ความยากจนของคนในชุมชน
-ชุมชนวุ่นวายสับสนและไม่มีความสุข
2.การจัดการความรู้ด้านแผนชุมชน
*ระยะในการจัดการความรู้ด้านแผนชุมชน
-ระยะเตรียมการ
-ระยะการจัดทำแผนชุมชน
-ระยะการนำแผนสู่การปฏิบัติ
*การเป็นศูนย์การเรียนรู้และต้นแบบการทำแผนชุมชน
3.บทเรียนและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ด้านแผนชุมชน
*บทเรียนที่ได้รับจากการจัดการความรู้ของชุมชนไม้เรียง
-หลักคิดของการจัดการความรู้ด้านแผนชุมชน
-ความสำคัญของแผนชุมชน
-กระบวนการจัดการแผนชุมชน
-การทำกิจกรรมของแผนชุมชน
-การขับเคลื่อนแผนชุมชนสู่การปฏิบัติ
-การทำให้ชุมชนเข้มแข็ง
*ปัญหาที่เอื้อต่อความสำเร็จในการจัดการความรู้ของชุมชนไม้เรียง
-ด้านบุคคล
-ด้านภาคีเครือข่าย
-ด้านการบริหารจัดการ
*ปัญหาที่เป็นอุปสรรค
-การสนับสนุนจากหน่วยงานราชการ
-คนในชุมชนบางส่วนไม่เห็นความจำเป็นของการจัดทำแผนชุมชน
แนวปฏิบัติที่ดีและกรณีศึกษาของการจัดการความรู้ด้านทรัพยากรน้ำ
2.การจัดการความรู้ด้านทรัพยากรน้ำของชุมชนแพรกหนามแดง จังหวัดสมุทรสงคราม
*ระยะในการจัดการความรู้ด้านทรัพยากรน้ำ
-ระยะเตรียมการ
-ระยะดำเนินการวิจัย
-ระยะสรุปบทเรียนและขยายผล (ระดับโครงการ ระดับชุมชน ระดับจังหวัด นโยบายประเทศ และระหว่างประเทศ)
1.สถานการณ์และปัญหาทรัพยากรน้ำของชุมชนแพรกหนามแดง จังหวัดสมุทรสงคราม
3.บทเรียนและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ด้านทรัพยากรน้ำ
บทเรียนที่ได้รับจากการจัดการความรู้ของชุมชนแพรกหนามแดง
-ปัจจัยที่เอื้อต่อความสำเร็นในการจัดการความรู้ของชุมชนแพรกหนามแดง
-ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคในการจัดการความรู้ของชุมชนแพรกหนามแดง
แนวปฏิบัติที่ดีและกรณีศึกษา
ของการจัดการความรู้ด้านการเงิน
และสวัสดิการชุมชน
สถานการณ์ ปัญหา พัฒนาการจัดการด้านการเงินและสวัสดิการชุมชนของกลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์เพื่อพัฒนาคุณธรรมครบวงจรชีวิต จังหวัดตราด
1.สถานการณ์ ปัญหา พัฒนาการจัดการด้านการเงินและสวัสดิการชุมชนของกลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์เพื่อพัฒนาคุณธรรมครบวงจรชีวิต จังหวัดตราด
-ความหมายของคำที่เกี่ยวข้อง
-ระบบสวัสดิการในชุมชน
-สถานการณ์ ปัญหา และพัฒนาการองค์การการเงินชุมชนในประเทศไทย
-พัฒนาการจัดการด้านการเงินและสวัสดิการชุมชนของกลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์เพื่อพัฒนาคุณธรรมครบวงจรชีวิต จังหวัดตราด
2.การจัดการความรู้ด้านการเงินและ
สวัสดิการชุมชนของกลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์
เพื่อพัฒนาคุณธรรมครบวงจรชีวิต จังหวัดตราด
*ระยะที่ 1 การมองเห็นปัญหาและแสวงหาทางแก้ไข
-การมองเห็นปัญหา
-การแสวงหาทางแก้ไข
-แนวทางแก้ไขปัญหา
*ระยะที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกลุ่ม
และเรียนรู้ด้วยกิจกรรม
-การเรียนรู้ด้วยกิจกรรม
-การขยายกลุ่มฯ
-การแก้ปัญหาด้วยกลุ่ม
*ระยะที่ 3 การขยายผลแปลก
เปลี่ยนเรียนรู้ไปสู่ภายนอกจังหวัด
-การขยายผลแลกเปลี่ยนเรียนรู้ไปสู่ภายนอกจังหวัด
-การตั้งเครือข่ายฯ
-การตั้งศูนย์ประสานงานกลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์ฯ
-การจัดงานประจำปี
-การเชื่อมโยงเครือข่ายพระสงฆ์
3.บทเรียนและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
การการจัดการาความรู้ด้านการเงินและสวัสดิการชุมชน
*บทเรียนที่ได้รับจากการจัดการความรู้ของกลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์เพื่อพัฒนาคุณธรรมครบวงจรชีวิต
-การจัดการความรู้ควรดำเนินการอย่างแนบเนียนกลมกลืนไปกับกิจกรรม
-การบริหารจัดการที่เป็นระบบ
-การเสริมสร้างความยั่งยืนของกลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์
-การให้ความสำคัญกับการค้นหา เปิดโอกาสและดึงศักยภาพของคนในชุมชน
-การใช้เครือข่ายการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับสมาชิกฯ
*ปัจจัยที่เอื้อต่อความสำเร็จของกลุ่ม
สัจจะสะสมทรัพย์เพื่อพัฒนาคุณธรรมครบวงจรชีวิต
-ปัจจัยภายใน
-ปัจจัยภายนอก
*ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคของกลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์
เพื่อพัฒนาคุณธรรมครบวงจรชีวิต
-ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้
-บรรยากาศส่งเสริมการเรียนรู้