Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การพยาบาลเด็กที่มีความพิการแต่กำเนิด, บรรณานกรรม:วิภารัตน์ ยมดิษฐ์…
บทที่ 6 การพยาบาลเด็กที่มีความพิการแต่กำเนิด
การจำแนกความพิการแต่กำเนิดตามกลไกการเกิด
Malformation คือลักษณะของอวัยวะที่ผิดรูปร่างไป เกิดจากกระบวนการเจริญพัฒนาภายในที่ผิดปกติ เช่น
ปากแหว่ง (cleft-lip)
เพดานโหว่(cleft -palate)
นิ้วแยกกันไม่สมบูรณ์(syndactyly)
นิ้วเกิน(polydactyly)
ติ่งบริเวณหน้าหู(preauricular skin tag)
เท้าปุก(clubfoot)
Deformation เกิดจากการที่มีแรงกระทำจากภายนอกทำให้อวัยวะสาเหตุภายนอกรบกวนกระบวนการ เจริญพัฒนาอวัยวะที่ไม่ใช่พันธุกรรม
มีภาวะถุงน้ำคร่ำรั่วระหว่างตั้งครรภ์
ข้อติด (joint contracture)
มีภาวะเนื้องอกมดลูก(myoma uteri)ในมดลูกกดเบียดศีรษะทารกให้ผิดรูป
Disruption คือ ภาวะที่โครงสร้างของอวัยวะหรือเนื้อเยื่อผิดปกติจากสาเหตุภายนอกรบกวนกระบวนการ เจริญพัฒนาอวัยวะที่ไม่ใช่พันธุกรรม
ทารกขาดเลือดไปเลี้ยงอวัยวะส่วนปลายสนน
การบาดเจ็บของอวัยวะหรือเนื้อเยื่อ
มีการฉีกขาดของ amnion
Dysplasia เป็นความผิดปกติในระดับเซลล์ของเนื้อเยื่อพบในทุกส่วนของร่างกาย เช่น
กลุ่มโรค skeletal dysplasia เกิดจากความผิดปกติ
สาเหตุของความพิการแต่กำเนิด
1. พันธุกรรม
ในครอบครัวเป็นโรคความพิการแต่กำเนิด
2. ปัจจัยจากสิ่งแวดล้อม
โดยเฉพาะจากมารดาในระหว่างตั้งครรภ์ ได้แก่
มารดามีอายุมากเกินไป
โรคติดเชื้อ เช่น
โรคหัดเยอรมันขณะตั้งครรภ์ได้ไม่เกิน16
ขาดอาหาร ขาดวิตามิน
มารดากินยาหรือเสพสารเสพติด
มารดาได้รับสารเคมีจากสิ่งแวดล้อม
รังสีเอ๊กซ์ หรือรังสีแกมม่า รวมทั้งสารกัมมันตรังสีทางการแพทย์
ความผิดปกติของการตั้งครรภ์ หรือ ภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
การดูดกลืนจะผิดปกติเนื่องจากการอมหัวนมไม่สนิทมีรูรั่วให้ลมเข้า
เกิดการสำลักเพราะไม่มีเพดานรองรับ
หายใจลำบาก
การรักษาปากแหว่ง
โดยทำการผ่าตัดการรักษาปากแหว่งอาจทำภายใน 48 ชม. หลังคลอดในรายที่เด็กสมบูรณ์ดีหรือรอตอนอายุอย่างน้อย 8-12สัปดาห์
เด็กอายุ 10 สัปดาห์น้ำหนักตัว10 ปอนด์ฮีโมโกลบิน กรัมเปอร์เซ็นต์
การผ่าตัดแก้ไขเพดานโหว่
ขั้นตอนแรกแพทยจะปรึกษาแพทย์เพื่อใส่เพดานเทียมเพื่อปิดเพดานช่องโหว่
ขั้นต่อมาผ่าตัดเพดาน เพื่อให้มีการพูดให้ชัดเจนใกล้เคียงปกติมากที่สุด
ขั้นต่อมาอายุ 5 ปี ปรึกษาทันตแพทย์จัดฟัน
การพยาบาลระยะก่อนผ่าตัด
เสี่ยงต่อการติดเชื้อทางเดินหายใจ/หูชั้นกลาง/การอุดกั้นทางเดินหายใจจากการสำลัก
มีโอกาสขาดสารน้ำสารอาหารจากการดูดกลืนผิดปกติ
การพยาบาลระยะหลังผ่าตัด
ระมัดระวังไม่ให้แผลผ่าตัดดึงรั้ง
ระวัดระวังสิ่งคัดหลั่งจากจมูกมาปนเปื้อนแผลผ่าตัด
สอนบิดา มารดา ทำความสะอาดแผล
จัดท่านอนหงายหรือตะแคงไปด้านใดด้านหนึ่งห้ามนอนคว่ำเพื่อปูองกันการเสียดสี กับที่นอน แผลอาจแยกได้
ป้ายยาครีมปฎิชีวนะตามแผนการรักษา
สังเกตอาการออกเสียงขึ้นจมูกและอาการสำลักอาหารจากปากเข้าจมูก
ห้ามดูดเสมหะในช่องปาก ยกเว้นหากจำเป็นต้องทำด้วยความนุ่มนวล
การดูแลหลังผ่าตัดเพดานโหว่ ถึงอายุ 4-5ปี
หลัง Palatoplasty มีการดูแลรักษาต่อเนื่องดังนี้
งด ดูด เปุา ประมาณ 3 – 4 สัปดาห์ เพื่อป้องกันไม่ให้เด็กใช้ลิ้นดัน flap
ผู้ป่วยควรได้รับการสอนฝึกพูดเสมอและได้รับการฝึกฝนอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง
อายุประมาณ 2 ปีครึ่ง - 3 ขวบ แพทย์จะพิจารณาผ่าตัดแก้ไข ภาวะความผิดปกติจมูกก่อนเข้าวัยเรียนเพื่อลด Negative social effect
อายุประมาณ 4-5 ปี ส่งท า Nasendoscope โดย แพทย์ ENTร่วมกับ speechtherapist เพื่อประเมินประสิทธิภาพการพูด
Esophageal stenosis/fistula/atresia หลอดอาหารตีบ/รั่ว/ตัน
อาการและอาการแสดงของโรค
ทารกแรกเกิด น้ำลายไหลมาก อาเจียน ไอ สำลัก เอาอาหารและเมือกเข้าสู่ทางเดินหายใจ
การรักษา
ระยะแรก Gastrostomy
ระยะสอง Thoracotomy and division of the fistula with Esophageal anastomosis
การพยาบาลก่อนผ่าตัดแก้ไขหลอดอาหาร
อาจเกิดภาวะปอดอักเสบหายใจลำบากหรือหยุดหายใจเนื่องจากสำลักน้ำลายหรือน้ำย่อยเข้าหลอดลม
จัดท่านอนที่เหมาะสม
พลิกตะแคงตัวบ่อยๆ
0n NG tube ต่อ Continuous suction
ให้ออกซิเจนกรณีมีภาวะพร่องออกซิเจน
ให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
อาจได้รับสารน้ำและสารอาหารไม่เพียงพอเนื่องจากไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้
ดูแลให้ไดสารอาหาร นม น้ำทาง gastrostomy tube
อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดต่อหลอดอาหาร(แผลแยก)
ห้ามใส่สาย NG tube หรือสาย suctionดูดเสมหะในคอและไม่ควรนอนเหยียดคอ
กระตุ้นให้เด็กร้องไห้บ่อยๆเพื่อให้ปอดขยายได้ดี
ดูแลให้การทำงานของ ICD ประสิทธิภาพ
การพยาบาลหลังผ่าตัด
อาจเกิดภาวะปอดแฟบจากการอุดตันของท่อระบายทรวงอก
จัดท่านอนศีรษะสูง
ตรวจสอบการทำงานของ ICD
ระวังสายหัก พับงอ / นวดคลึงสายบ่อยๆ
บันทึก ลักษณะ สี จำนวนของ discharge
อาจเกิดการติดเชื้อบริเวณแผลผ่าตัดและแผล Gastrostomy
ล้างมือก่อนและหลังให้การพยาบาล
ทำแผลอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง
สังเกตการติดเชื้อ
ดูแลให้ยา Antibiotic ตามแผนการรักษา
บรรณานกรรม:วิภารัตน์ ยมดิษฐ์. (2563).
การพยาบาลเด็กที่มีความพิการแต่กำเนิด. สืบค้นวันที่ 15 มิถุนายน 2563. จาก:
https://classroom.google.com/u/0/w/NzMzNjU4Njc4NDla/t/all
นางสาวดลยา แก้วเกร็ด 36/2 เลขที่11