Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การพยาบาลผู้คลอดที่มีความผิดปกติ เกี่ยวกับปัจจัยการคลอด(การคลอดยาก…
บทที่ 6 การพยาบาลผู้คลอดที่มีความผิดปกติ เกี่ยวกับปัจจัยการคลอด(การคลอดยาก Dystocia)
สาเหตุของการคลอดยาก Psychological
บทบาทพยาบาล
ทารก
ป้องกันการขาดออกซิเจน
มารดา
สังเกตพฤติกรรมการตอบสนองภาวะเจ็บครรภ์
การให้ข้อมูล
การสนับสนุนทางอารมณ์
การบรรเทาความเจ็บปวด
ผลกระทบ
มารดา
ปากมดลูกเปิดช้าลง
ความเจ็บปวดที่รุนแรงขึ้น
การคลอดล่าช้าและการคลอดยาก
ทารก
คะแนน APGAR ต่ำ
หัวใจเต้นช้าลง
สาเหตุ
มีประสบการณ์ที่ไม่ดีในการคลอดที่ผ่านมา
การรับรู้ต่อปัญหาของตนไม่ถูกต้อง
รูปแบบการเผชิญปัญหาไม่เหมาะสม
ฮอร์โมน
β-Endorphin,
adrenocorticotropic,Cortisone,
Epinephrine
การดูแลรักษา
มารดาอ่อนเพลียขาดน้ำ ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
รับยาบรรเทาปวดเพื่อไม่ให้เกิดกลุ่มอาการ fear tention pain syndrome
สาเหตุของการคลอดยาก (Passage)
การวินิจฉัย
มีประวัติคลอดยาก
มีประวัติทารกตายหลังคลอดไม่นาน
เกิดอุบัติเหตุที่กระดูกเชิงกราน
มารดาสูงน้อยกว่า 135 cm
รายที่สงสัยเป็น CPD
ไม่ได้สัดส่วนกันของศรีษะทารกกับช่องเชิงกราน(CPD)
ผลกระทบ
มารดา
:check:การคลอดยาวนาน
มารดาเหนื่อย อ่อนเพลีย
:check:การคลอดติดขัด
มดลูกแตก
มารดาเสียชีวิต
ความผิดปกติของหนทางการคลอด
มีเนื้องอกปิดกั้นหนทางคลอด
ตกเลือดหลังคลอด
คลอดก่อนกำหนด
ปากมดลูกเปิดช้าหรือไม่เปิด
แท้ง
ปากมดลูกผิดปกติ
ตีบตัน
ช่องคลอดผิดปกติ
กระเพราะปัสสาวะโป่ง
ผลกระทบ
ทารก
สายสะดือย้อย
เลือดออกกระโหลกศรีษะ
เกิดอันตรายต่อระบบประสาทส่วนกลาง
เนื้องอกมดลูก
มารดา
คลอดยาวนาน
ถุงน้ำคร่ำเเตกก่อนเวลา
การช่วยคลอดทำให้เนื้อเยื่อมารดาถูกทำลาย
คลอดติดขัด
เกิดเนื้อตาย
ปัจจัยของหนทางคลอด เชิงกรานแคบ
สาเหตุ
โรคกระดูก
ฮอร์โมนเพศหญิงไม่สมบูรณ์
เชิงกรานแตกร้าว
การเจริญเติบโตผิดปกติ
ชนิด
เชิงกรานแคบที่ช่องกลาง
เชิงกรานแคบที่ช่องออก
เชิงกรานแคบที่ช่องเข้า
สาเหตุของการคลอดยาก (Passenger)
สาเหตุ
ท่าผิดปกติ
แฝดน้ำ
มีสิ่งมาขวางทางช่องคลอด
ครรภ์หลังจากมดลูกหย่อน
ความผิดปกติของมดลูก/มดลูกอยู่ผิดท่า
ทารกยังไม่กลับท่าให้อยู่ในปกติ
คลอดก่อนกำหนด
ปัจจัยทางด้านทารก
Fetal Mal-position
ผิดปกติเกี่ยวกับการหมุน
ท้ายทอยเฉียง OPP
ท่าศรีษะขวางต่ำ
Brow presentation
การคลอดติดขัด ช่วยไม่ทันมดลูกแตก
Face presentation
มารดา
ฝีเย็บฉีกขาด
หมุนภายในช้ากว่าปกติ
ปากมดลูกเปิดช้า
ทารก
สายสะดือพลัดต่ำ
ทารกใบหน้าบวมซ้ำ
Fetalpelvic Disproportion
ทารกขนาดใหญ่เกิน 4000 g
Twins pregnancy
สาเหตุ
เชื้อชาติ
กรรมพันธุ์
อายุ
จำนวนครรภ์
การดูแล
ป้องกันความดันโลหิตสูงระยะตั้งครรภ์
ป้องกันการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
ฺBreech presentation
ผลกระทบ
มารดา
การคลอดยาวนาน
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
ติดเชื้อ
การฉีกขาดของหนทางคลอด
ทารก
เลือดออกในสมอง
กระดูกหัก ข้อเคลื่อน
อันตรายต่ออวัยวะภายใน
Fetal Mal-presentation
สาเหตุ
พบในมารดาครรภ์หลัง
คลอดก่อนกำหนด
รกเกาะต่ำ
มดลูกผิดปกติ
เชิงกรานแคบ
Shoulder presentation
ผลกระทบ
มารดา
มดลูกแตก
ฉีกขาดของช่องคลอด
ติดเชื้อ
เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัด
ทารก
ทารกตายในครรภ์
สาเหตุของการคลอดยาก Power
ความหมาย
แรงที่เกิดจากการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกและแรงเบ่งของผู้คลอด
ปัจจัยของแรง
การหดรัดตัวของมดลูกมากกว่าปกติ
ความหมาย
การหดรัดตัวของมดลูกที่มีแรงดันในมดลูกมากกว่า 50 mmHg หรือช่วงของการหดรัดตัวแต่ละครั้งน้อยกว่า 2 นาที หรือทั้ง 2 อย่าง
สาเหตุ
ขนาดของทารกและช่องเชิงกรานของผู้คลอดไม่ได้สัดส่วน
ส่วนนำของทารกผิดปกติ
ร้อยละ 50 ไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริง
ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกไม่ถูกวิธี
การรักษา
การให้ยานอนหลับและยาระงับความเจ็บปวด
อันตราย
มารดา
ร่างกายอ่อนเพลียเกิดภาวะขาดน้ำ
เกิดการติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ
เกิดการตกเลือดหลังคลอด
เจ็บปวดมาก
มดลูกแตก ทำให้เสียเลือดมาก
ทารก
เกิดภาวะขาดออกซิเจน
เกิดการติดเชื้อ
ศรีษะทารกถูกกดนาน อาจมีเลือดออกที่เยื่อบุกระโหลกศรีษะ
การหดรัดตัวของมดลูกน้อยกว่าปกติ
สาเหตุ
มีความผิดปกติของมดลูก
ขาดการกระตุ้นที่ปากมดลูก
มดลูกมีการยืดขยายมากกว่าปกติในครรภ์แฝดหรือครรภ์แฝดน้ำ
กระเพราะปัสสาวะหรืออุจาระเต็ม
การได้รับยาแก้ปวดหรือยาระงับความรู้สึกมากเกินไป
ผ่านการคลอดมาหลายครั้ง
ร้อยละ 50 ไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริง
อันตราย
มารดา
เหน็ดเหนื่อย อ่อนเพลีย หมดแรง
การตายของผู้คลอด ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการเจ็บครรภ์คลอดที่ยาวนาน
ทารก
ทารกได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
ติดเชื้อ
การรักษา
การให้สารน้ำที่เพียงพอเพื่อแก้ไขภาวะขาดน้ำของผู้คลอด
ตรวจดูว่ามีปัสสาวะคั่งค้างในกระเพราะปัสสาวะจนเต็มหรือไม่
ให้ยาระงับปวด
ให้การประคับประคองจิตใจให้กำลังใจเพื่อคลายความวิตกกังวล
ถ้าถุงน้ำคร่ำยังไม่แตกหรือรั่วควรเจาะถุงน้ำคร่ำ เพราะจะช่วยให้การหดรัดตัวของมดลูกดีขึ้น
ความผิดปกติของแรงเบ่ง
สาเหตุ
อ่อนเพลียจากการคลอดยาวนาน
ผู้คลอดได้รับยาบรรเทาการเจ็บปวดในปริมาณมาก
เบ่งไม่เป็น
การทำ Epidural block
เหนื่อยล้าจากการได้รับน้ำและอาหารไม่เพียงพอ
ผลกระทบ
มารดา
ไม่สามารถคลอดเองได้ ต้องใช้สูติศาสตร์หัตถการ
ทารก
ทารกขาดออกซิเจนจากการคลอดยาวนาน
การคลอดยาก (Dystocia)
ลักษณะของการคลอดที่ไม่ได้ดำเนินไปตามปกติ มีความก้าวหน้าของการคลอดล่าช้า หรือมีการหยุดชะงักความก้าวหน้าของการคลอด
การแบ่งลักษณะการคลอดยาก
Protraction disorder ความผิดปกติเนื่องจาก ปากมดลูกเปิดขยายล่าช้าหรือการเคลื่อนต่ำของศรีษะในระยะ Active phase ล่าช้ากว่าปกติ
Protracted descent การที่ส่วนนำของศรีษะทารกเคลื่อนต่ำช้ากว่า 1 Cm ต่อชั่วโมงในครรภ์แรก หรือช้ากว่า 2 Cm ต่อชั่วโมงในครรภ์หลัง
Protracted active phase dilatation การเปิดขยายของปากมดลูกช้ากว่า 1.2 cm ต่อชั่วโมงในครรภ์แรก และช้ากว่า 1.5 cm ต่อชั่วโมงในครรภ์หลัง
Prolongation disorder ความผิดปกติเนื่องจาก latent phase ยาวนาน ในครรภ์แรก ระยะlatent phase ยาวนาน กว่า 20 ชั่วโมง หรือครรภ์หลัง ระยะlatent phase ยาวนานกว่า 14 ชั่วโมง
Arrest disorder ความผิดปกติเนื่องจากปากมดลูกไมเปิดขยาย
Arrest of descent การที่ส่วนนำของทารกไม่เคลื่อนต่ำลงมาอีกเลยนาน กว่า1 ชั่วโมง ในระยะที่ปากมดลูกเปิด 10 cm ไปแล้ว
Secondary arrest of dilatation การที่ปากมดลูกไม่เปิดขยายอีกต่อไปนานเกินกว่า 2 ชั่วโมง ในระยะ phase of maximum slope
Failure of descent การที่ไม่มีการเคลื่อต่ำของส่วนนำ ทารกลงมาในระยะ Deceleration phase หรือในระยะที่ 2 ของการคลอด
Prolonged deceleration phase การที่ระยะของdeceleration phase (นับตั้งแต่ปากมดลูกเปิด 9 Cm - 10 cm )นานกว่า 3 ชั่วโมงในครรภ์แรก และนานกว่า 1 ชั่วโมงในครรภ์หลัง
นางสาว ธิดารัตน์ แพงวงษ์ รหัสนักศึกษา 602701032