Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.6 โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
5.6 โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์
1.ไวรัสตับอักเสบบี (Hepatitis B)
เป็นโรคตับชนิดร้ายแรงที่เกิดจากไวรัสตับอักเสบบี
(hepatitis B virus) ซึ่งอยู่ในกลุ่ม hepadnavirus ซึ่งเป็นสาเหตุหลักของมะเร็งตับอีกเสบ
การวินิจฉัยคัดกรองการติดเชื้อ
HBsAg: บอกถึง การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบ
HBeAg: บอกถึง ความสามารถในการแบ่งตัวของไวรัสตับอักเสบบี (Viral replication)
Anti HBc: เป็นภูมิคุ้มกันที่เกิดจากการตอบสนองของร่างกายต่อไวรัสตับอักเสบบี บอกถึงการ
เคยติดเชื้อไวรัสบ
Anti HBc-IgM: พบในตับอักเสบเฉียบพลัน
Anti HBc-IgG: พบได้ทั้งในตับอักเสบเฉียบพลัน, เรื้อรัง หรือแม้แต่ผู้ที่ตรวจไม่พบเชื้อแล้ว
Anti HBe: จะพบหลังจากตรวจไม่พบ HBeAg ในเลือดแล้ว
Anti HBs: จะพบหลังจากตรวจไม่พบ HBsAg ในเลือดแล้ว หรือ เป็นภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อ
ไวรัสตับอักเสบบ
อาการและอาการแสดง
มีไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นใส้ อาเจียน ปวดท้อง ปัสสาวะสีเข้มอุจจาระสีซีด ปวดข้อและในรายที่มีอาการรุนแรง มีอาการตัวเหลืองตาเหลือง ไวรัสสามารถแพร่กระจายทั้งในน้ำตา น้ำมูก น้ำอสุจิ เยื่อเมือกช่องคลอด น้ำคร่ำ
ผลกระทบการติดเชื้อในหญิงตั้งครรภ์
จะมีโอกาสเกิดเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ความดันโลหิตสูงได้และมีเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอดก่อนคลอดเกิดจากรกลอกตัวก่อนกำหนดที่ และพบอัตราการชักนำการคลอด และอัตราการผ่าตัดคลอดเพิ่มขึ้นตับวาย
(hepatitis failure) ได้มากขึ้น
ผลต่อทารก
การติดเชื้อจากมารดาไปสู่ทารก การคลอดก่อนกำหนด การเพิ่มขึ้นของการเกิดน้ำเดิน ก่อนเจ็บครรภ์คลอด การแท้ง และการตายคลอด ทารกหลังคลอด พบอัตราการเสียชีวิตเพิ่มขึ้น คะแนน APGAR score ต่ำ และอาจเพิ่มอัตราการมีเลือดออกในสมองได้
แนวทางการรรักษา
1.การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีจากมารดาสู่ทารกในระยะก่อนการคลอด
-การเจาะน้ำคร่ำ (amniocentesis) ควรหลีกเลี่ยงการทำสูติศาสตร์
หัตถการเพื่อการช่วยคลอดโดยไม่จำเป็น
-ให้ยาต้านไวรัสจาก HBeAg เป็นหลักหากมีผลเป็นลบให้ฝาก
ครรภ์ปกติ หากผลเป็นบวกหรือหากมารดามีปริมาณไวรัสในเลือดสูงกว่า 200,000 IU/mL แนะนำให้เริ่มยาต้านไวรัสในไตรมาสสุดท้ายของการตั้งครรภ์โดยเริมที่อายุครรภ์ 28-32 สัปดาห์
แนะนำให้พิจารณาเป็นอันดับแรกได้แก่ T
enofovir Disoproxil Fumarate (TDF) 300 mg.
หรือให้ Lamivudine 100 mg ร่วมกับ HBIg ในสัปดาห์ที่ 32
ของการตั้งครรภ์
2.การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีจากมารดาสู่ทารกในระยะหลังคลอด
ด้านมารดา
ควรรับประทาน Tenofovir Disoproxil Fumarate (TDF) 300 mg. วันละ 1 ครั้ง จนถึง 4 สัปดาห์หลังคลอด
ด้านการดูแลทารกแรกเกิด
ใช้หลัก universal precaution
ในหญิงตั้งครรภ์ที่มีการติดเชื้อแต่ผลเลือด มีanti HBV น้อยกว่า 10IU/ml ควรได้รับวัคซีน
Hepatitis B immunoglobulin (HBIG) (400IU) ขนาด ๐.๕ ml.
Hepatitis B Vaccine วัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบีภายใน 12 ชั่วโมงหลังคลอดใน
ขนาด ๐.๕ ml.
กรณีที่ทารกมมีน้ำหนักน้อยกว่า 2,000 กรัมก็สามารถฉีดวัคซีนได้ทันท
บทบาทพยาบาลผดุงครรภ์
ระยะตั้งครรภ์
1.การคัดกรองโดยการซักประวัติ ประวัติครอบครัวเน้นหากลุ่มเสี่ยงของการติดเชื้อเช่น
จำนวนครั้งการแต่งงาน จำนวนคู่นอน
การใช้สารเสพติด
2.การส่งตรวจเลือดหา HBsAg
3.ให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัวกรณีที่มีการติดเชื้อเพื่อป้องกันการการแพร่กระจายและ
ความรุนแรงของโรค
ระยะคลอด
1.ป้องกันการแพร่กระจาย
เชื้อจากการสัมผัส
เลือดลารคัดหลั่ง
โดยใช้หลัก Universal
Precaution
2..ดูแลให้การคลอดดำเนินไปตามปกติ
3.ดูแลทารกแรกเกิดโดยการ
ใช้หลัก universal precaution
ในการจับต้องหรืออุ้มทารก
การดูดมูกจากปากและจมูกอย่างรวดเร็ว
ระยะหลังคลอด
1.ให้คำแนะนำในการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
เกี่ยวกับน้ำคาวปลาและสิ่งคัดหลั่ง
2.ประเมินภาะหัวนมแตกและส่งเสริมการเลี้ยงบุตร
ด้วยนมมารดาอย่างเดียว 6 เดือน
(exclusive breastfeeding)
3.แนะนำการคุมกำเนิดและการวางแผนครอบครัวอย่างเหมาะสม
4.แนะนำการปรับบตัวด้านจิตสังคม การผ่อนคลายความเครียด
2.หัดเยอรมัน (Rubella, German measles)
การติดเชื้อ
สามารถเกิดขึ้นโดยการสัมผัสโดยตรงต่อ
สารคัดหลั่งจาโพรงจมกูและปากของผู้ติดเชื้อ
อาการและอาการแสดง
ระยะก่อนออกผื่น
ไข้ต่ำ ปวด
ศีรษะ ตาแดง คออักเสบ ปวดกล้ามเนื้อ
ก่อนที่จะออกผื่น 1-2 วัน (2 วันหลังมีไข้) พบ Koplik's spot
ระยะออกผื่น
จะมีผื่นขึ้นหลังมีไข้ 3-4 วัน จะมีผื่นแดงเล็กๆ (erythematous
maculopapular) มีตุ่มนูน
ภาวะแทรกซ้อนในทารก
หูหนวก
หัวใจพิการ
ต้อกระจก
การรักษาพยาบาล
สำหรับหญิงตั้งครรภ์ในระยะ 3 เดือนแรก แพทย์จะแนะนำให้
ยุติการตั้งครรภ
ในรายที่ไม่ต้องการยุติการตั้งครรภ์ แพทย์อาจพิจารณาฉีด Immunoglobulin
รักษาแบบประคับประคองคำแนะนำสำหรับผู้ที่ติดเชื้อหัด
-แนะนำพักผ่อนให้เพียงพอ
-แนะนำดื่มน้ำให้เพียงพอ จิบบ่อย ๆ
-ถ้ามีไข้แนะนำรับประทานยา paracetamal ตามแพทย์สั่ง
3.ซิฟิลิส (Syphilis)
เชื้อเข้าสู่ร่างกายทางรอยฉีกขาดของผนังช่องคลอด สามารถติดเชื้อจากมารดาไปยังทารกได้โดยการแพร่ผ่านรก
โดยตรง และขณะคลอดทางช่องคลอดที่มีรอยโรค
อาการและอาการแสดง
1.ซิฟิลิสปฐมภูมิ(primary syphilis)เป็นระยะที่มีแผลริม
แข็งมีตุ่มแดงที่อวัยวะเพศ ริมฝีปาก เป็นลักษณะขอบนูนไม่เจ็บ ต่อมน้เหลืองโตกดไม่เจ็บ
2.ซิฟิลิสทุติยภูมิ(secondary syphilis) ผื่นจะมีลักษณะสีแดงน้ำตาลไม่คัน พบทั่วตัวผ่ามือผ่าเท้าอาจมีไข้หรือปวดตามข้อจากการเกิดข้ออักเสบ ต่อน้ำเหลืองโต ผมร่วง
3.ซิฟิลิสระยะแฝง (latent syphilis) หลังจากได้รับเชื้อ 2-30 ปี เป็นช่วงที่ไม่มีอาการ
4.ซิฟิลิสระยะตติยภูมิ(tertiary or late syphilis) หลังจากได้รับเชื้อ 2-30 ปี เชื้อจะทำลายอวัยวะภายในเช่น หัวใจและหลอดเลือดสมอง ตาบอด
ภาวะแทรกซ้อน
เสี่ยงต่อการแท้งหลังอายุครรภ์ 4 เดือน
ทารกตาบอด การคลอดก่อนกำหนด ทารกในครรภ์
โตช้า ทารกบวมน้ำ
การรักษา
1.การรักษาระยะต้น ให้ยา Benzathine penicillin G 2.4 mUIM ครั้งเดียว
2.การรักษาระยะปลาย ให้ยา Benzathine penicillin G 2.4 mUIM สัปดาห์ละครั้ง
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
1.ตรวจครั้งแรกเมื่อมาฝากครรภ์ครั้งแรก
และตรวจซ้ำอีกครั้งในไตรมาสที่ 3
2.ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
3.แนะนำการรักษาความสะอาดอวัยวะเพศ และการป้องกันโรคโดยการสวมถุงยางอนามัย
4.แนะนำให้พาสามีมาตรวจและรักษาด้วย
เพื่อป้องกันการติดเชื้อซ้ำ
5.ให้การปรึกษาและดูแลทางด้านจิตใจ เปิดโอกาสให้ซักถามและระบายความรู้สึก
ระยะคลอด
เน้นการใช้หลัก Universal precaution
และป้องกันการติดเชื้อโดยดูดเมือกออกจากปากและ
จมูกโดยเร็ว
ระยะหลังคลอด
สามารถให้นมได้ตามปกติ ล้างมือก่อนและหลังสัมผัสทารก
4.โรคเริมที่อวัยวะเพศ (Genital herpes simplex infection)
อาการและอาการแสดง
จะเกิดเป็นกลุ่ม vesicles ที่ผิวหนังของอวัยวะ
เพศ มีอาการปวดแสบปวดร้อนมาก มักมีอาการทาง systemic ร่วมด้วย เช่น ไข้ ปวดเมื่อยตัว ต่อม
น้ำเหลืองโต และอ่อนเพลียในรายที่ติดเชื้อครั้งแรก
ภาวะแทรกซ้อน
ทารกที่ติดเชื้อในร่างกาย อาจมีตุ่มน้ำใสๆ
ตามร่างกาย ตาอักเสบ มีไข้หนาวสั่น ซึม ไม่ดูด
นม ตับม้ามโต มีการอักเสบของปาก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การเพาะเชื้อ (culture) โดยใช้ของเหลวที่ได้จาก
ตุ่มใสที่แตกออกมา หรือการขูดเอาจาก
ก้นแผล จะพบ multinucleated giant cell
เซลล์วิทยา (cytology) โดยวิธี Tzanck smear
ขูดเนื้อเยื่อบริเวณก้นแผล
แล้วย้อมสี
Wright หรือ Giemsa
เพื่อดู multinucleated giant cells
การรักษา
ควรให้ยาปฏิชีวนะและดูแลแผลให้
สะอาดในรายที่ติดเชื้อ แผลไม่สะอาด
การให้ยา antiviral drug เช่น acyclovir,
valacyclovir และ famciclovir
ในสตรีตั้งครรภ์ที่เจ็บครรภ์คลอด
โดยที่มี Herpes lesion ควรได้รับการ
ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์
ในระยะตั้งครรภ์
1.แนะนำการดูแลแผลให้แห้งและ
สะอาดอยู่เสมอ
2.การตรวจสุขภาพประจำปี โดยเฉพาะการทำ pap smear
3.ดูแลการให้ยาต้านไวรัสตามแผนการรักษา
หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ขณะมีแผล ควรใช้ถุงยางอนามัย
5.แนะนำการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
ควรล้างมือให้สะอาดก่อนสัมผัสหรือให้นมบุตร
ลดความวิตกกังวลเกี่ยวกับการผ่าตัดและการแพร่เชื้อไปยังทารก
ในระยะคลอด
เน้นการใช้หลัก Universal precaution และหลีกเลี่ยงการทำหัตถการ
ในระยะหลังคลอด
สามารถให้นมได้ตามปกติ ล้างมือก่อนและหลังสัมผัสทารก
5.หูดหงอนไก่
(Condyloma accuminata and pregnancy)
หูดหงอนไก่เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ที่เกิดจากเชื้อไวรัส Human papilloma virus
(HPV)
ผลของโรคหูดหงอนไก่บริเวณ
อวัยวะเพศต่อการตั้งครรภ์
เกิด laryngeal ตั้งแต่เสียงแหบ
จนถึงการอุดกั้นระบบทางเดินหายใจส่วนบน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
โดยทำ pap smear พบการเปลี่ยนแปลง
ที่เซลล์เป็นkoilocytosis (halo cell)
อาการและอาการแสดง
เห็นหูดขึ้นรอบ ๆ ทวารหนักและในทวารหนักลักษณะ
เป็นก้อนสีชมพู นุ่ม ผิวขรุขระ มีสะเก็ด ตกขาวมีกลิ่นเหม็นและคัน
การรักษา
การรักษาด้วยสารเคมี เช่น จี้ด้วย trichloroacetic acid 80-90% สัปดาห์ละครั้ง
2.คลอดสามารถให้คลอดทางช่องคลอดได้ ยกเว้นหูดมีขนาดใหญ่ซึ่งทำให้ขัดขวางช่องทางคลอด และอาจทำให้เกิดการฉีกขาดมาก
ควรผ่าตัดคลอด
การพยาบาล
1.จี้ด้วย trichloroacetic acid หรือ laser
surgery
2.แนะนำการรักษาความสะอาดของอวัยวะเพศ
3.แนะนำให้สตรีตั้งครรภ์ส่งเสริมสุขภาพตนเองให้แข็งแรง
6.โรคเอดส์ (Acquired immune defiency syndrome)
หมายถึง การตรวจพบปฏิกิริยา
ทางน้ำเหลืองต่อเชื้อ HIV
(Human immunodeficiency
Virus) เป็นบวก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจคัดกรองโรคเอดส์คือ
การทดสอบที่เรียกว่า Enzyme–linked
Immunosorbent assay (ELISA)
การตรวจยืนยันด้วยการตรวจ confirmatory test
เช่น Western Blot (WB)
และ Immunofluorescent assay (IFA)
ถ้าให้ผลบวกเป็นการแน่นอนว่าผู้ป่วยติดเชื้อเอดส์
อาการและอาการแสดง
กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มที่ไม่มีอาการทางคลินิก
มีเพียงการตรวจ Elisa ให้ผลบวก
กลุ่มที่ 2 เป็นกลุ่มอาการคล้ายเอดส์
คือ ไข้ ปวดเมื่อยตามตัว
อ่อนเพลีย ผื่นตามตัว
ปวดศีรษะ เจ็บคอ ผล CD4 ต่ำกว่า 500-200 cm3
กลุ่มที่ 3 มีไข้สูงฉับพลัน ไข้ต่ำ ๆ นานกว่า 2-3 เดือนปวดศีรษะ เจ็บคอ คลื่นไส้อาเจียน ต่อมน้ำเหลืองโตทั่วไป ท้องเดินเรื้อรัง น้ำหนัก
ลด อาจตรวจพบเยื่อหุ้มสมองอักเสบชนิดไร้เชื้อร่วมด้วย
การติดต่อ
การร่วมเพศทางทวารหนัก
จากมารดาสู่ทารก (vertical transmission)
ทางกระแสเลือด
การรักษา
การให้ยาต้านไวรัสขณะตั้งครรภ์
กรณีที่ 1 หญิงตั้งครรภ์ไม่เคยได้รับยาต้านไวรัสมาก่อน
สูตรแรก TDF + 3TC + EFV โดยแนะนำให้ยาต่อหลังคลอดทุกราย
สูตรที่ 2 AZT + 3TC + LPV/r หรือ TDF + 3TC + LPV/r
ในกรณีที่ดื้อยากลุ่ม NNRTIs
หรือจำเป็นต้องหยุดยาหลังคลอด
กรณี่ 2 หญิงตั้งครรภ์ ได้รับยาต้านไวรัสมาก่อนตั้งครรภ์ ไม่ต้องหยุดยา
ควรใช้สูตรยาที่ทำให้ viral load ลดลง จนวัดไม่ได้จะดีที่สุด
หากพบว่า viral load มากกว่า 1000 copies / ml
ทั้งที่กินยาสม่ำเสมอนาน 6 เดือน ให้
ส่งปรึกษาผู้เชี่ยวชาญทันที
การให้ยาต้านไวรัสระหว่างเจ็บครรภ์คลอด
ให้เพิ่ม AZT 300 mg ทุก 3 ชม. หรือ AZT 600 mg ครั้งเดียว ไม่ว่าจะใช้ยาสูตรใด
หากคลอดโดยการผ่าตัดให้กินยาก่อนเริ่มผ่าตัดอย่างน้อย 4 ชม.
ในรายที่ viral load น้อยกว่า 50 copies / ml ไม่ต้องให้ยาระหว่างเจ็บครรภ์คลอด
หลีกเลี่ยงการให้ยา Methergine เนื่องจากจะทำให้หญิงที่กินยา LPV/r หรือ EFV อยู่เกิด severe vasoconstriction ได้
การให้ยาต้านไวรัสหลังคลอด
CD4 < 500 cells / mm 3
คู่มีผลเลือด ลบ หรือ ไม่ทราบผลเลือดคู่
การติดเชื้อร่วม เช่น วัณโรค ไวรัสตับอักเสบ บี ไวรัสตับอักเสบ ซี
การให้ยาต้านไวรัสในทารกแรกเกิด
AZT ขนาด 4 mg/kg/dose ทุก 12 ชม. ให้นานต่อเนื่อง 4 สัปดาห์
การพยาบาล
ระยะการตั้งครรภ์
ตรวจหาระดับCD4 ถ้าต่ำกว่า 400 เซลล์ต่อลูกบาศก์มิลลิเมตร
ให้ AZT โดยให้ AZT 300 มก.
รับประทานวันละ 2 ครั้ง
ตั้งแต่อายุครรภ์ 28 สัปดาห์
จนกระทั่งคลอด
ระยะคลอด
หลีกเลี่ยงการทำให้ถุงน้ำแตก
หรือรั่วทำคลอด
โดยยึดหลัก Universal
precaution
ระยะหลังคลอด
ให้อยู่ในห้องแยก
งดให้นมบุตร
เน้นให้มาตรวจหลังคลอดตามกำหนด
ในทารกหลังคลอด ให้ NPV 2 มก./กก. ทันที
และให้ AZT 2 มก./กก./วัน
7.การติดเชื้อไวรัสซิกกา (Zika fever)
สามารถติดต่อได้โดย การถูกยุงลายที่มีเชื้อกัด และโรคนี้ยังสามารถติดต่อ จากคนสู่คนได้โดยผ่านทางการมีเพศสัมพันธ์
อาการและอาการแสดง
ไข้ซิกามีระยะฟักตัว 2-7 วัน
มีอาการไข้
ปวดศีรษะ
ออกผื่นที่ลำตัว และแขนขา
ปวดข้อ
ปวดในกระบอกตา
เยื่อบุตาอักเสบ
การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจหาแอนติบอดี IgM และ IgG ต่อไวรัสซิกา
วิธีการตรวจดีเอ็นเอสามารถตรวจได้จากน้ำเหลือง
การตรวจหาพันธุกรรมของเชื้อด้วยวิธี
Reverse Transcriptase Polymerase Chain
Reaction
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะศีรษะเล็กแต่กำเนิดของทารกในครรภ์
การป้องกัน
ป้องกันยุงกัดและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุง
ยุงลายที่เป็นพาหะมักออกหากินเวลากลางวัน
การรักษา
การให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
ดื่มน้ำในปริมาณ
2,000-3,000 ลิตรต่อวัน
ให้ยาพาราเซตามอล
เพื่อบรรเทาอาการปวด ลดไข้