Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีที่มีโรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การพยาบาลสตรีที่มีโรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์
โรคตับอักเสบ
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อไวรัสตับอักเสบบี (Hapatitis B, HBV) มีชื่อเรียกกันอีกอย่างว่า Dane particle เป็น DNA hepabnavirus type 1 มีรูปร่างกลมเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 42 มม.มีเปลือก๒ชั้นการเพาะเชื้อ ทางห้องปฏิบัติการทำได้ยาก
อาการและอาการแสดง
1. ตับอักเสบในระยะเฉลียบพลัน
จะมีอาการอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ปวดเมื่อย ตามกล้ามเนื้อ ปวดข้อ ปวดศีรษะ คล้ายกับหวัดใหญ่ มักไม่มีดีซ่าน การตรวจพบน้าดีในปัสสาวะเป็นอาการแสดงแรก ของความผิดปกติในการทางานของตับ และทาให้ปัสสาวะเหลืองเข้ม และจะตามด้วยอาการตัวเหลือง
2.ตับอักเสบไวรัสบีชนิดเรื้อรัง
2.1 พาหะของโรค (asymptomatic carrier)
หมายถึง ผู้ที่ตรวจเชื้อไวรัส HBsAg โดยไม่มีอาการ
ของโรค และมีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดโรคตับอักเสบเรื้อรังในภายหลัง มีแนวโน้มจะกลายเป็นโรคตับแข็ง และมะเร็งตับ
2.2. Chronic persistent hepatitis
พบได้บ่อยตามหลังตับอักเสบแบบเฉียบพลัน
2.3 Chronic active hepatitis หรือ Chronic aggressive hepatitis
จะพบเอ็นไซม์ตับสูงกว่า ปกติอยู่นาน ตรวจพบ HBsAg ในเลือดอยู่เป็นเวลานาน ส่วนใหญ่จะมีอาการดีซ่านเป็นระยะเวลานาน
การวินิจฉัย
จากลักษณะของอาการและอาการแสดง
ผลทดสอบน้าเหลืองหาแอนติเจนหรือแอนติบอดีย์ต่อไวรัส เช่น HBsAg, anti-HBs, anti- HBc, HBeAg และ anti- HBe วินิจฉัยตับอักเสบบี เมื่อตรวจพบ HBsAgในน้าเหลืองและถ้าพบ HBeAg ร่วมด้วยจะมี โอกาสแพร่ไปยังผู้อื่นรวมทั้งทารกได้สูงกว่ารายที่พบ HBsAg เพียงอย่างเดียว
การรักษา
-การตรวจคัดรกองหญิงตั้งครรภ์ว่าเป็นพาหะเรื้อรัง
-การช่วยเหลือระยะคลอด มีรายงานยืนยันว่าการผ่าตัดทาคลอดทางหน้าท้อง และการคลอด ทางช่องคลอด
-การแยกมารดาและทารก เมื่อทารกคลอดต้องรีบทeความสะอาดทารกทันที
-การเลี้ยงลูกด้วยนมมารดา
-ให้ภูมิคุ้มกันแก่ทารก
assive immunization
คือ การให้ภูมิคุ้มกันที่ได้ผลทันที ได้แก่ Hepatitis Bimmunoglobin (HBIG) ฉีดยาภายหลังอาบน้ำทารกแล้ว
active immunization
คือการให้วัคซีนไปกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิต้านทานต่อการติดเชื้อ
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ให้คำแนะนำการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
สามารถทางานได้ตามปกติ แต่ไม่ควรทางานเครียด
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารมัน งดดื่มของมึนเมาทุกชนิด
แนะนำให้พาบุคคลที่ใกล้ชิดในครอบครัวมาตรวจเลือด
ระยะคลอด
ใช้หลัก Universal precaution
ควรให้คลอดในห้องแยก
เมื่อทารกคลอดรีบดูดมูกออกจากปาก จมูก ให้มากที่สุด และโดยเร็วที่สุด
ไม่ควรทาหัตถการใดๆ เช่น ฉีดยา ให้น้าเกลือแก่ทารก
ระยะหลังคลอด
ให้นมบุตรได้ แต่ยกเว้นในรายที่มารดาหัวนมแตก
ดูแลทารกให้ได้รับวัคซีนตามแผนการรักษา
ให้คำแนะนำแก่มารดาว่าทารกที่ได้รับวัคซีน
แยกของใช้มารดา และแนะนำการปฏิบัติตน
หัดเยอรมัน,โรคสุกใส
คือ โรคติดเชื้อไวรัสซึ่งเกิดจาก Rubella virus (German measle virus) ซึ่งเป็น RNA Paramyxovirus ระยะฟักตัว 14-21 วัน ระยะติดต่อตั้งแต่7 วันก่อน ผื่นขึ้นถึง 5 วันหลังผื่น ขึ้น ระยะที่ติดต่อได้ง่ายที่สุดคือ 2-3 วันก่อนมีผื่น สำหรับเด็กที่เป็น Congenital rubella อาจแพร่เชื้อนาน 1 ปี การติดต่อเกิดได้จากสัมผัส
อาการและอาการแสดง
1. การติดเชื้อหัดเยอรมันในหญิงตั้งครรภ์ (Acquire rubella infection)
เมื่อมีอาการมักมีความ เจ็บป่วยเพียงเล็กน้อย ซึ่งแยกยากจากการติดเชื้อไวรัสทั่วๆ ไป อาการที่พบได้แก่ ผื่น จะกินเวลาประมาณ3 วัน
2. ทารกพิการโดยกาเนิดจากการเกิดเชื้อหัดเยอรมัน (Congenital Rubella Syndrome: CRS)
ทารกมีความผิดปกติดังนี้ ต้อกระจก (Cataracts) ความผิดปกติของหัวใจ หูหนวกบางรายมีศีรษะขนาดเล็ก (microcephaly) และปัญญาอ่อน
การวินิจฉัย
หญิงคั้งครรภ์
ประวัติ อาการและอาการแสดง
เพาะเชื้อในคอ
ทดสอบน้าเหลือง (serology) ที่นิยมใช้มากที่สุด คือ วิธีทดสอบยับยั้งการเกาะกลุ่ม ของเม็ดเลือดแดง (Hemagglutination inhibition test: HAI)
ทารก
ตรวจ lgM ในเลือดทารกที่เก็บตัวอย่าง
จากการเจาะโดยตรงจากสายสะดือ (Cordocenesis)
การรักษา
เพื่อป้องกันโรคหัดเยอรมันสตรี วัยเจริญพันธุ์ทุกรายควรได้รับวัคซีนป้องกัน หญิงตั้งครรภ์ที่สัมผัสหัดเยอรมันจะได้รับการตรวจHAIทันที ให้ Immunoglobulin ในหญิงตั้งครรภ์ที่สัมผัสโรคและมีความเสี่ยง
การพยาบาล
ซักประวัติการได้รับวัคซีนป้องกันหัดเยอรมัน
กรณีไม่เคยได้รับวัคซีนป้องกันหัดเยอรมันควรซักประวัติการสัมผัสโรคขณะตั้งครรภ์ควร
อธิบายให้มารดาทราบถึงการดำเนินโรคอันอาจมีผลต่อทารกในครรภ์
ควรใช้เทคนิค Respiratory isolation
ผู้ป่วยต้องอยู่ห้องแยกและปิดประตูเสมอ
ล้างมือก่อนและหลังออกจากห้องมารดาแยกมารดาและทารก
ซิฟิลิส , เริม, Condyloma accuminata/HPV
เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่เกิดจากเชื้อ ไวรัสชนิด DNA ที่เรียกว่า Human papiloma virus (HPV) type6 และ 11 HPV ติดต่อโดยการสัมผัส เชื้อโรคโดยตรงและทางเพศ
อาการและอาการแสดง
1.ส่วนใหญ่มักไม่มีอาการ หรือถ้ามีอาการมีโอกาสหายได้เอง
2.เริ่มจากรอยโรคเล็ก ๆ แล้วขยายตัวใหญ่ขึ้นเป็นติ่งเนื้อขรุขระคล้ายหงอนไก่
3.หูดหงอนไก่จะมีลักษณะเป็นติ่งเนื้องอกอ่อนๆ สีชมพูลุกลามได้รวดเร็วจนมีลักษณะคล้ายหงอนไก่ หรือดอกกะหล่ำ
การวินิจฉัยโรค
จากการซักประวัติเคยเป็นหูดหงอนไก่มาก่อน
ตรวจร่างกายพบรอยหูดหงอนไก่
การตรวจทางเซลล์วิทยา (Pap smear)
การใช้เทคนิค acetowhite โดยใช้น้าส้มสายชู (5% acetic acid)
การตัดชิ้นเนื้อส่งตรวจทางพยาธิวิทยา
การพยาบาล
ระยะคลอด
ถ้าหูดหงอนไก่ยังมีขนาดเล็กไม่ขัดขวางหนทางคลอดให้คลอดทางช่องคลอดได้
ถ้าหูดหงอนไก่มีขนาดใหญ่เมื่อเข้าสู่ระยะคลอดให้ทาผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
ระยะหลังคลอด
ดูแลมารดาหลังคลอดเหมือนมารดาหลังคลอดทั่วไป
เน้นการดูแลความสะอาดของอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกให้มาก
สามารถให้นมบุตรได้เน้นความสะอาดของมือก่อนสัมผัสบุตรทุกครั้ง
แนะนำให้มารดาหลังคลอดติดตามดูแลรอยโรคเป็นระยะเวลายาว
ระยะตั้งครรภ์
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์และสามีเข้าใจสาเหตุของการเกิดโรค
แนะนาให้สตรีตั้งครรภ์รับการรักษาอย่างสม่าเสมอ
รักษาความสะอาดของอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกให้สะอาดและแห้งเสมอ
แนะนำการปฏิบัติตนเพื่อให้มีระบบภูมิต้านทานของร่างกายเข้มแข็ง
AIDS
อาการและอาการแสดง
กลุ่มที่ 1
อาการทางคลินิก การตรวจ Elisa ให้ผลบวก
กลุ่มที่ 2
เป็นกลุ่มอาการคล้ายเอดส์ คือ ไข้ ปวดเมื่อยตามตัว
อ่อนเพลีย ผื่นตามตัว ปวดศีรษะ เจ็บคอ ผล CD4 ต่ํากว่า 500-200 cm
กลุ่มที่ 3
เป็นกลุ่มอาการที่มีอาการสัมพันธ์กับเอดส์ คือ
มีข้สูงฉับพลัน ไข้ ต่ําๆ นานกว่า 2-3 เดือนปวดศีรษะ เจ็บคอ คลื่นไส้อาเจียน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจคัดกรองโรคเอดส์คือการทดสอบที่เรียกว่า Enzyme-linked
Immunosorbent assay (ELISA)
การตรวจยืนยันด้วยการตรวจ confirmatory test เช่น Western Blot (WB)
การพยาบาล
ระยะคลอด
จัดให้ผู้คลอดอยู่ในห้องแยกป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
หลีกเลี่ยงการทำให้ถุงน้ำ แตกหรือรั่ว
ทำคลอดโดยยึดหลกักUniversal precaution
ระยะหลังคลอด
จัดให้อยู่ในห้องแยก
แนะนำการปฏิบัติตัวเมื่อกลับบ้านเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
งดให้นมบุตร เพราะทารกอาจติดเชื้อจากแม่ทางน้ำนมได้
ทารกหลังคลอด ให้ NPV 2 มก./กก. ทันทีและให้ AZT 2 มก./กก./วัน
และติดตามการติดเชื้อในทารกหลังคลอด12-18เดือน
ระยะตั้งครรภ์
ตรวจหาระดับCD4 ถ้าต่ำกว่า400เซลล์ต่อลูกบาศก์มิลลิเมตร
อาจพิจารณาให้ prophylaxis pneumocystis
carinii pneumonia(PCP)
ดูแลให้ยาตามแผนการรักษา (แนวทางการให้ยา)
แนะนำวิธีการปฏิบัติตัวป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
โรคอุบัติใหม่ เช่น ไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่,ซิก้า,Covid-19
อาการและอาการแสดง
ไข้ ปวดศีรษะ ออกผื่นที่ลำตัวและแขนขา
ปวดข้อปวดในกระบอกตาเยื่อบุตาอักเสบ
การตรวจวินิจฉัย
การซักประวัติ อาการ การเดินทาง ลักษณะที่อยู่อาศัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจหาแอนติบอดี IgM และ IgG ต่อไวรัสซิกา สำหรับการตรวจหา IgM
สามารถตรวจพบได้ภายใน 3 วันนับแต่แสดงอาการ
การตรวจหาภูมิคุ้มกัน (IgM) ด้วยวิธี ELISA หรือImmunofluorescence
หากพบว่าผลการตรวจเป็นลบแนะนำให้เก็บPlasma ส่งตรวจซ้ำภายใน 3-4 สัปดาห์
วิธีการตรวจดีเอ็นเอสามารถตรวจได้จากน้ำเหลือง
การตรวจหาพันธุกรรมของเชื้อด้วยวิธี RT-PCR
การรักษา
ยังไม่ยารักษาโรคไข้ซิกาโดยตรง
ให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
ดื่มน้ำในปริมาณ 2,000-3,000 ลิตรต่อวัน
การให้ยาพาราเซตามอลเพื่อบรรเทาอาการปวด ลดไข้
- ห้ามรับประทานยาแอสไพรินหรือยากลุ่มลดการอักเสบ (NSAIDs)