Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน, นางสาวโศภิษฐา ทยาพัชร รุ่น 35 เลขที่ 61 -…
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน
1.ขั้นการประเมินภาวะสุขภาพชุมชน (Community Assessment)
การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
ข้อมูลปฐมภูมิ
รวบรวมจากผู้ให้ข้อมูลโดยตรง
ข้อดึ ข้อมูลครบตาวัตถุประสงค์ที่ต้องการ ทันสมัย
ข้อเสีย เสียเวลา งบประมาณ
ข้อมูลทุติยภูมิ
รวบรวมจากแหล่งข้อมูลที่มีอยู่แล้ว
ข้อดี ไม่สิ้นเปลือง กำลังคนหรือค่าใช้จ่าย
ข้อเสีย อาจไม่ได้ข้อมูลครบถ้วนตามที่ต้องการ
การนำเสนอข้อมูล (Data Presentation)
หลักการ : ถูกต้อง กระชับ น่าสนใจ เข้าใจง่าย
วิธีการนำเสนอ
การนำเสนอโดยปราศจากแบบแผน
นำเสนอเป็นบทความ
นำเสนอเป็นบทความกึ่งตาราง
การนำเสนอโดยมีแบบแผน
นำเสนอเป็นตาราง
ตารางซับซ้อน
ตารางสองลักษณะ
ตารางลักษณะเดียว
นำเสนอเป็นกราฟ
กราฟเส้น
ใช้กับข้อมูลต่อเนื่อง ดูแนวโน้มของการเกิดโรคตามเวลาและอายุตัวแปรด้านเวลา
Histogram
ใช้กับข้อมูลที่มีการกระจายความถี่ชนิดต่อเนื่อง 1 ชุด
รูปหลายเหลี่ยมแห่งความถี่
นำเสนอด้วยแผนภูมิ
แผนภูมิกงหรือวงกลม
ใช้กับข้อมูล 1 ชุด แจกแจง จำนวนนับ/ร้อยละ วนตามเข็มนาฬิกา เริ่มที่ 12น.
แผนภูมิภาพ
แผนภูมิทางภูมิศาสตร์
แผนที่แบบเข็มหมุด
แผนที่แบบจุด : ใช้จุดๆ ตำแหน่ง/Pin map ใช้เข็มหมุดปักแทน ณ ตำแหน่งที่พบ
แผนที่แบบแรเงาหรือระบายสี
แผนภูมิเพื่อจุดประสงค์พิเศษ
แผนภูมิแท่ง
ใช้กับข้อมูลไม่ต่อเนื่อง นิยมเปรียบเทียบสถานที่/ลักษณะบุคคล
เครื่องมือ /วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
การวัดและประเมิน (Measurement) : BP , Blood Sugar , Waist Circumference , BMI , ADL
การทดสอบ (Test) : Timed up and go test , Child development
การใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) : การรับประทานอาหาร การป้องกันตัวไม่ให้ติดโควิด -19
การสัมภาษณ์/สัมภาษณ์เชิงลึก : ถามสาเหตุว่าทำไม ผู้ป่วยถึงไม่สามารถควบคุมน้ำตาลได้
การสำรวจ(Survey) : สำมะโนประชากร
การสนทนากลุ่ม : การสนทนากับผู้สูงอายุ เพื่อให้ได้ข้อมูลด้านภาวะสุขภาพ และต้องการการดูแลจากหน่วยงานต่างๆ
การสังเกต (Observation) : พฤติกรรมสุขภาพ สิ่งแวดล้อม
การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis)
3.การแจกแจงข้อมูล การใช้การแจงนับ (tally)หรือจะใช้การวิเคราะห์ด้วยคอมพิวเตอร์
4.รวมจำนวนการแจงนับ (tally) ออกมาเป็นตัวเลขจำนวนเต็ม แล้วนำมาคำนวณเป็นค่าร้อยละหรือค่าสถิติชีพ : อัตรา ค่าเฉลี่ย เพื่อนำไปเปรียบเทียบกับมาตรฐานหรือเกณฑ์
2.จัดประเภทข้อมูล
ลักษณะทั่วไปของชุมชน : ข้อมูลประชากร ที่ตั้งชุมชน เศรษฐกิจ สังคม อาชีพ
ข้อมูลสุขภาพอนามัย: อัตราเกิด อัตราตาย อัตราป่วย แบบแผนการเกิดโรค ฯลฯ
ข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวกับโรค : การได้รับภูมิคุ้มกันโรค พฤติกรรมสุขภาพ ภาวะโภชนาการ
1.ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ของข้อมูล
ประเภทของข้อมูล
เชิงคุณภาพ
เชิงปริมาณ
การกำหนดกลุ่มเป้าหมาย
ประชากรทั้งหมด (Census)
การสุ่มตัวอย่าง (Random Sampling) : การใช้การสุ่มแบบง่าย หรือการสุ่มแบบเป็นระบบ
ข้อมูลที่ต้องรวบรวม
ข้อมูลด้านพฤติกรรมสุขภาพ
การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย การดื่มสุรา การสูบบุหรี่ การตรวจคัดกรองโรคต่างๆ
ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม
ขยะ น้ำ ส้วม พาหะนำโรค เช่นยุงลาย
ข้อมูลด้านสุขภาพ
อัตราเกิด อัตราตาย อัตราอุบัติการณ์ อัตราการป่วยของโรคต่างๆในชุมชน
ข้อมูลประชากร
อายุ เพศ สถานะภาพสมรส การศึกษา อาชีพ รายได้
ข้อมูลทั่วไปของชุมชน
แหล่งประโยชน์ชุมชน วิถีชุมชน ข้อมูลทางเศรษฐกิจ
สังคม ผู้นำชุมชน
ประวัติชุมชน ที่ตั้งอาณาเขต สภาพภูมิประเทศ
ข้อมูลด้านการบริการสุขภาพ
ระบบบริการสุขภาพ คุณภาพ แหล่งบริการ คลินิก ร้านขายยา หมอพื้นบ้าน การใช้สมุนไพร
2.การวินิจฉัย (Community Diagnosis)
การจัดลำดับความความสำคัญของปัญหา (Priority Setting)
การให้คะแนนการจัดลำดับความสำคัญตามแบบของภาค วิชาบริหารสาธารณสุข คณะสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดล
ความยากง่ายในการแก้ไขปัญหา (Ease of Management of Susceptibility)
ทำไม่ได้เลย = 0 คะแนน
ยากมาก = 1 คะแนน
ยาก = 2 คะแนน
ง่าย = 3 คะแนน
ง่ายมาก = 4 คะแนน
ความวิตกกังวล/ความสนใจของชุมชน (Community concern)
ไม่มีเลย/ไม่สนใจเลย = 0 คะแนน
มากกว่า 0-25 /สนใจเล็กน้อย = 1 คะแนน
มากกว่า 25-50/สนใจปานกลาง = 2 คะแนน
มากกว่า 50-75/สนใจมาก = 3 คะแนน
มากกว่า 75-100 = 4 คะแนน
ขนาดของปัญหา (Size of Problem)
มากกว่า 50-75 = 3 คะแนน
มากกว่า 75-100 = 4 คะแนน
มากกว่า 25-50 = 2 คะแนน
มากกว่า 0-25 = 1 คะแนน
ไม่มี = 0 คะแนน
ความรุนแรง (Severity of Problem)
มากกว่า 50-75 = 3 คะแนน
มากกว่า 75-100 = 4 คะแนน
มากกว่า 25-50 = 2 คะแนน
มากกว่า 0-25 = 1 คะแนน
ไม่มี = 0 คะแนน
การโยงใยสาเหตุ (Web of Causation)
หลักการวิเคราะห์โยงใยสาเหตุของปัญหา
3.ถ้าไม่ได้รับปัจจัยเสียงมาก การเกิดโรคก็มาก ได้รับปัจจัยเสี่ยงน้อยการเกิดโรคน้อย
4.มีขนาดและความจำเพาะเจาะจงของสาเหตุการโรค
2.ความสัมพันธ์ของปัจจัยสาเหตุกับการเกิดโรค ต้องเป็นไปตามหลักวิทยาศาสตร์
5.ไม่ว่าจะศึกษาโดยวิธีใด ผลสรุปที่ได้สอดคล้องกันกล่าวคือ ปัจจัยนั้นยังคงเป็นสาเหตุที่ให้เกิดโรคเช่นเดิม
1.ปัจจัยสาเหตุต้องเกิดก่อนการเกิดโรค
6.ปัจจัยหรือสาเหตุนั้นสามารถอธิบายด้วยวิธีการหรือศาสตร์ใดๆได้
การระบุปัญหา (Problem Identification)
กระบวนการกลุ่ม (Nominal Group Process)
5D : Dead , Disability , Disease , Discomfort , Dissatisfaction
ใช้เกณฑ์ ตัวชี้วัดด้านสุขภาพ : ตัวชี้วัดการดำเนินงานด้านสุขภาพของกระทรวง ของจังหวัด เกณฑ์จปฐ.
3.การวางแผน/การเขียนโครงการ (Community Planning)
วัตถุประสงค์ของโครงการ
ต้องบอกให้ทราบว่า การดำเนินงานตามโครงการนั้นมีความต้องการให้อะไรเกิดขึ้น ควรเป็นวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน ปฏิบัติได้ วัดและประเมินผลได้
วัตถุปรระสงค์เชิงพฤติกรรม ต้องเขียนให้เป็นรูปธรรมมากกว่าเขียนเป็นนามธรรม
1 โครงการอาจมีวัตถุประสงค์มากกว่า 1 ข้อได้ แต่การเขียนวัตถุประสงค์มากๆ อาจทำให้ผู้ปฏิบัติมองไม่ชัดเจนและอาจจะดำเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์ไม่ได้
ส่วนใหญ่จะนิยมเขียนวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน-ปฏิบัติได้-วัดได้เพียง 1-3 ข้อ ก็พอ
เป้าหมาย
ให้ระบุว่าจะดำเนินการสิ่งใด โดยพยายามแสดงให้ปรากฏเป็นรูปตัวเลขหรือจำนวนที่จะทำได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
การระบุเป้าหมาย ระบุเป็นประเภทลักษณะ และปริมาณ ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และความสามารถในการทำงานของผู้รับผิดชอบโครงการ
หลักการและเหตุผล
ชี้แจงรายละเอียดของปัญหาและความจำเป็นที่เกิดขึ้นที่จะต้องแก้ไข
ชี้แจงถึงผลประโยชน์ที่จะได้รับจากการดำเนินงานตามโครงการและหากเป็นโครงการที่จะดำเนินการตามนโยบาย หรือสอดคล้องกับแผนจังหวัดหรือแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติหรือแผนอื่นๆก็ควรชี้แจงด้วย
ผู้เขียนโครงการ บางท่านอาจจะเพิ่มเติมข้อความว่าถ้าไม่ทำโครงการดังกล่าว ผลเสียหายโดยตรงหรือผลเสียหายในระยะยาวจะเป็นอย่างไร เพื่อให้ผู้อนุมัติโครงการได้เห็นประโยชน์ของโครงการกว้างขวางขึ้น
วิธีดำเนินงาน
ระบุกิจกรรมหรือขั้นตอนการดำเนินงาน ซึ่งเป็นงานหรือภารกิจที่จะต้องปฏิบัติในระหว่างจัดโครงการให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
ระยะการเตรียมโครงการจะรวบรวมกิจกรรมทุกอย่างไว้แล้วนำมาจัดลำดับว่าควรจะทำสิ่งใดก่อน-หลัง หรือพร้อมๆกัน แล้วเขียนไว้ตามลำดับจนถึงขั้นตอนสุดท้ายที่ทำให้โครงการบรรลุวัตถุประสงค์
ระยะดำเนินการ
ระยะประเมินผล
ชื่อโครงการ
ต้องมีความหมายชัดเจน
ประเมินผล
บอกแนวทางการประเมินผลควร
ประเมินอะไร
ประเมินเมื่อใด/เวลาใด
ใช้วิธีการใดในการประเมิน(สังเกตุ/การสอบถาม/การสัมภาษณ์/การทดสอบ)
ใช้เครื่องมืออะไรประเมิน
ชื่อแผนงาน
กำหนดชื่อให้ครอบคลุมโครงการเดียว หรือหลายโครงการที่มีลักษณะงานไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อแก้ไขปัญหาหรือสนองวัตถุประสงค์หลักที่กำหนดไว้
ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
เมื่อโครงการนั้นเสร็จสิ้นแล้ว
จะเกิดผลอย่างไรบ้าง
ใครเป็นผู้ได้รับเรื่องนี้สามารถเขียนทั้งผลประโยชน์โดยตรง
ใครได้รับผลประโยชน์ในด้านผลกระทบของโครงการด้วย
นางสาวโศภิษฐา ทยาพัชร รุ่น 35 เลขที่ 61