Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:pregnant_woman: 5.4 ความผิดปกติของการหายใจ - Coggle Diagram
:pregnant_woman:
5.4 ความผิดปกติของการหายใจ
การเปลี่ยนแปลงทางกายวิภาค
ของระบบทางเดินหายใจ
ทรวงอกมีการขยายทางด้านกล้างเส้นผ่านศูนย์กลาง
ทรวงอกเพิ่ม 2 ซม. และ เส้นรอบวงเพิ่ม 6 ซม.
Total body oxygen consumption เพิ่มร้อยละ 20
กระบังลมจะถูกมดลูกดันให้เลื่อนสูงขึ้นประมาณ 4 ซม.
เมื่ออายุครรภ์ 24 สัปดาห์ การหายใจจะเปลี่ยน
จากการใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องเป็นกล้ามเนื้อช่องอก
การเปลี่ยนแปลงทำงาน
ของปอดในระยะตั้งครรภ์
ขับ bicarbonate ทางไตเพิ่ม
:small_red_triangle_down:
เกิด respiratory alkalosis
:small_red_triangle_down:
ขับปัสสาวะมากขึ้น
:small_red_triangle_down:
ระดับของ PCO2และ pH
จึงจะปกติ
โปรเจสเตอโรนเพิ่มขึ้น
:small_red_triangle_down:
ตอบสนองcentral chemoreceptor ไวขึ้น
:small_red_triangle_down:
อัตราการหายใจเพิ่มขึ้น
:small_red_triangle_down:
CO2 เพิ่มขึ้น
:small_red_triangle_down:
PCO2 ในหลอดเลือดแดงลดลง
:one: หอบหืดในหญิงตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
มีอาการไอเรื้อรัง (มากกว่า 8 สัปดาห์)
หายใจลำบากหรือแน่นหน้าอก
ส่วนใหญ่เกิดในช่วง 24 -36 สัปดาห์
หายใจมีเสียง wheezing
RR > 35 ครั้ง/นาที
เหงื่อออกมาก
ชีพจรเร็วมากกว่า 120 ครั้ง/นาที
การวินิจฉัย
.การตรวจร่างกาย จะได้ยินเสียง wheezing หรือ rhonchi
.ตรวจเสมหะยอมเชื้อ ตรวจเอกซ์เรย์ทรวงอก
จากการซักประวัติอาการและอาการแสดง
ผลกระทบ
ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์
ด้านมารดา
ตกเลือด
เสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากการจับหืด (asthmatic attack)
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (preeclampsia)
ด้านทารก
คลอดน้ำหนักตัวนอย
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
คลอดก่อนกำหนด
ตายปริกำเนิด
ผลของการตั้งครรภ์ต่อโรค
ช่วงแรกของการตั้งครรภ์
น้ำหนักตัว ปริมาณน้ำในรางกาย ปริมาณของเลือด เกลือโซเดียมในร่างกายเพิ่มขึ้น
:small_red_triangle_down:
หัวใจทำงานมากขึ้น
:small_red_triangle_down:
เกิดอาการหายใจลําบาก
โดยเฉพาะเวลานอน
ช่วงหลังการตั้งครรภ์
ปริมาตรของอากาศที่เหลือค้างในปอด
จากการหายใจออกตามปกติ
:small_red_triangle_down:
เนื้อที่ในปอดบางส่วนไม่สามารถ
แลกเปลี่ยนออกซิเจนได้สมบูรณ์
:small_red_triangle_down:
ทำให้อาการของโรคหอบหืดเป็นมากขึ้น
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
รับประทานยาตามแผนการรักษา
นับและบันทึกลูกดิ้น
หลีกเลี่ยงอากาศเย็นหรือร้อน
รับประทานอาหารเน้นโปรตีน
ฝากครรภ์ตามนัด
ระยะคลอด
ให้ออกซิเจนทันทีเมื่อมีอาการหอบ
ประเมินลักษณะการหายใจ ชีพจร สีเล็บ
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
จัดทานอนศีรษะสูงหรือนอนฟุบบนโต๊ะคร่อมเตียง
ระยะหลังคลอด
เน้นการป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
ส่งเสริมการเลี้ยง
บุตรด้วยนมมารดา
ในน้ำนมมารดามี IgA สูง จะชวยลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคภูมิแพ้ที่เกิดจากมารดาเป็นโรคหอบหืดได้ร้อยละ 10
ดูแลให้มารดารับยารักษาโรคหอบหืดอย่างตอเนื่อง
:two:วัณโรคปอดในหญิงตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
มีอาการอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำนักตัวค่อยๆลดลง
อาการไอมักจะเรื้อรังนากว่า 3 สัปดาห
มีอาการไอ ซึ่งในระยะแรกจะไอแห้งๆต่อมาจึงมีเสมหะ
ลักษณะเป็นมูกปนหนองจะไอมากขึ้นเวลาเข้านอน
หรือตื่นนอนตอนเช้า
มีไข้ตอนบ่าย เหงื่อออกตอนกลางคืน
ประเภทของการติดเชื้อวัณโรค
:one: ผู้ที่น่าจะเป็นวัณโรค
(presumptive TB)
ไอเป็นเลือด
มีไข้
ไอทุกวันเกิน 2 สัปดาห์
เหงื่อออกมากผิดปกติตอนกลางคืน
น้ำหนักลดผิดปกติ
:two:ผู้ติดเชื้อวัณโรคระยะแฝง
(latent TB infection)
สามารถยับยั้งการแบ่งตัวของเชื้อวัณโรคได
ไม่มีอาการผิดปกติใดๆ
ผู้ที่ได้รับเชื้อและติดเชื้อวัณโรคแฝงอยู่ในร่างกาย
แต่ร่างกายมีภูมิคุ้มกันสามารถต่อสู้กับเชื้อ
ไม่สามารถแพร่เชื้อสู่ผู้อื่นได้
:three:ผู้ป่วยวัณโรค หรือวัณโรคระยะแสดงอาการ
(TB disease หรือ Active TB)
เกิดพยาธิสภาพที่ทำให้ป่วยเป็นวัณโรค
อาจมีอาการหรือไม่มีอาการก็ได้
ผู้ที่ได้รับเชื้อและติดเชื้อวัณโรคแฝงอยู่ในร่างกาย
แต่ภูมิคุ้มกันไม่สามารถยับยั้งการแบ่งตัวของเชื้อวัณโรคได้
ผู้ป่วยจะสามารถแพร่
กระจายเชื้อไปสู่ผู้อื่นได้
การพูด คุย
การจาม
ของเหลวในร่างกาย
เนื้อเยื่อในตำแหน่งที่เป็นโรค
การวินิจฉัย
ตรวจเอกซ์เรย์ปอด
การส่งตรวจเสมหะ
การตรวจย้อมหาเชื้อวัณโรค (acid fast bacilli staining)
การเพาะเชื้อ (culture for mycobacterium tuberculosis)
การตรวจหาสารพันธุกรรมที่เชื้อวัณโรค
(PCR หรือ polymerase chain reaction)
การตรวจ Tuberculin skin test (ไม่แนะนำ
ให้ใช้ตรวจในหญิงตั้งครรภ์และหญิงที่ให้นมบุตร)
ซักประวัติอาการและอาการแสดง
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
จัดสิ่งแวดล้อมในบ้านให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก เปิดหน้าต่างให้มีแสงสว่างเข้าถึง
แนะนำรับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง เน้นปลา นม ไข่ เพิ่มอาหารที่มีธาตุเหล็กและวิตามินสูง
สวมผ้าปิดปากป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ ไม่ไอจาม รดผู้อื่น
แนะนำรับประทานยาตามแผนการรักษาของแพทย์ องค์การอนามัยโลกแนะนำ
ให้ใช้ยาสูตร 2HRZE/4HR กับผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ทุกราย
แนะนำมาฝากครรภ์ตามนัดเพื่อประเมินการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
ระยะคลอด
ดูแลให้อยู่ในห้องแยก ให้ผู้คลอดพักผ่อนให้เพียงพอ
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์และความก้าวหน้าของการคลอด
ระยะหลังคลอด
ทารกแรกเกิดควรได้รับการตรวจ Tuberculin skin test
เมื่อแรกเกิด พร้อมกับให้ยา INH และ rifampicin ทันทีหลังคลอด
ทารกได้รับการฉีด BCG เพื่อป้องกันวัณโรคชนิดแพร่กระจายหลังคลอด
แยกทารกออกจากมารดาจนกระทั่งการเพาะเชื้อจากเสมหะของมารดาได้ผลลบ
โรคติดเชื้อโคโรน่า (Covid-19)
เนื่องจากเชื้อเป็นไวรัสชนิดใหม่ยังไม่มีข้อมูลว่าหญิงตั้งครรภ์มีโอกาสติดเชื้อ COVID-19 มากกว่าคนทั่วไป
การดูแลหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด กลุ่มปกติ
กลุ่มปกติ คือ กลุ่มที่ไม่ติดเชื้อ ใช้หลักการป้องกัน
การแพร่ระบาดของเชื้ออย่างเคร่งครัด
เลี่ยงการใช้มือสัมผัสบริเวณดวงตา ปาก และจมูก
รับประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม่เสมอ
รักษาระยะห่าง อย่างน้อย 1-2 เมตร
แยกภาชนะรับประทานอาหารและงดใช้ของส่วนตัวร่วมกับผู้อื่น
หลีกเลี่ยงการสัมผัสหรืออยู่ใกล้ชิดผู้ที่มีอาการ
ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้ำสะอาดนานอย่างน้อย 20 วินาที
ไอจาม ปิ ดปาก
ถ้ามีอาการไข้ไอเจ็บคอ หายใจเหนื่อยรีบไปพบแพทย์
ฝากครรภ์ตามนัด
การดูแลหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด ที่เป็นกลุ่มเสี่ยง
กลุ่มเสี่ยง ได้แก่ ผู้ที่มีประวัติเดินทาง
มาจากประเทศกลุ่มเสี่ยง หรือสัมผัสหรือ
ใกล้ชิดผู้ป่วย COVID-19
พิจารณาเลื่อนการฝากครรภ์ หากอยู่ในช่วงกักตัว
กรณีเจ็บครรภ์คลอดต้องไปโรงพยาบาลทันที และ
แจ้งเจ้าหน้าที่ให้ทราบ
งดการออกไปในที่ชุมชนสาธารณะโดยไม่จําเป็น
แยกกักตัวสังเกตอาการ 14วัน
การรักษาด้วยยา Favipiravir
(200 mg/tab)
วันที่ 1: 8 เม็ด วันละ 2 ครั้ง
วันที่ 2-10: 3 เม็ด วันละ 2 ครั้ง
มีโอกาสเกิด teratogenic effect ควรระวังการใช้ในหญิงมีครรภ์
การดูแลทารกแรกเกิด ในกรณีมารดาเป็นผู้ที่
สงสัยติดเชื้อหรือติดเชื้อ COVID 19
อธิบายถึงความเสี่ยง ความจำเป็นและประโยชน์ของการแยกมารดา-ลูก และการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาให้มารดาเข้าใจและเป็นผู้ตัดสินใจเอง
แยกตัวออกจากทารกอื่น และต้องสังเกตอาการเป็นเวลา 14วัน
ยังไม่มีหลักฐานทางวิชาการในการแพร่เชื้อไวรัส ผ่านทางน้ำนม ดังนั้นทารกจึงสามารถกินนมมารดาได้ โดย
ปฏิบัติตามแนวทางป้องกันการติดเชื้ออย่างเคร่งครัด
ยังไม่มีหลักฐานการติดต่อผ่านทางรกหรือผ่านทางน้ำนม
ข้อปฏิบัติในการบีบน้ำนมและการป้อนนม
ล้างมือให้สะอาดด้วยน้ำและ สบู่ นานอย่างน้อย 20 วินาที หรือแอลกอฮอล์เข้มข้น 70%ขึ้นไป
สวมหน้ากากอนามัย ตลอดการทำกิจกรรมที่เกี่ยวกับการเตรียมนม การบีบน้ำนม และการให้นม
อาบน้ำหรือเช็ดทำความสะอาดบริเวณเต้านม
งดการสัมผัสบริเวณใบหน้าของตนเองและทารก เช่น การหอมแก้มทารก
ป้อนนมทารกด้วยการใช้ช้อน หรือถ้วยเล็ก
ล้างทำความสะอาดอุปกรณ์ และทำการนึ่งเพื่อฆ่าเชื้อหลังเสร็จสิ้นกิจกรรม
:pencil2:จัดทำโดย
นางสาวชวนันท์ รูปคุ้ม เลขที่ 18