Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กโรคมะเร็ง, นางสาว อรุณรัตน์ มัสแหละ เลขที่ 82 - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กโรคมะเร็ง
มะเร็งจอตา (Retinoblastoma)
เกิดจากการเจริญผิดปกติของเซลล์ในเรตินา
มีการถ่ายทอดทางพันธุกรรม แบบ Autosomal dominant
อาการและอาการแสดง
มีตาวาวเหมือนตาแมวในเวลากลางคืน
มองเห็นก้อนเนื้องอกสีขาวปนเทา
ตาเข ตาโปน
การวินิจฉัยและการรักษา
ตรวจดูด้วยกล้อง opthalmoscopeopthalmoscope
เคมีบำบัด ที่ใช้ได้ผล คือ cyclophosphaminde , vincristine
การให้รังสีรักษา
การพยาบาล
ประเมินภาวะจิตใจหากเด็กต้องเอาลูกตาออก
หลังการผ่าตัด
ทำแผลโดยใช้แรงดัน ไว้ 48 ชั่วโมง
หลังจากนั้นปิดด้วย eye path
ทำแผลใหม่ล้างตาด้วย NSS
ป้ายตาด้วยยาปฏิชีวนะแบบขี้ผึ้ง
ใส่ตาปลอม หลังผ่าตัด 3 6 สัปดาห์
ประคับประคองจิตใจ
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
มะเร็งต่อมน้าเหลืองฮอด์กิน (Hodgkin lymphoma)
สาเหตุ
เกิดจากเซลล์รีดสเตอร์เบอร์เซลล์มีขนาดใหญ่
ติดเชื้อเอพสไตน์บาร์ไวรัส
ติดเชื้อโมโนคลูลีโอซิส
อาการและอาการแสดง
ต่อมน้ำเหลืองโต แข็งไม่เจ็บ และเคลื่อนได้พบได้บ่อย คือ ที่คอ ที่รักแร้ ขาหนีบ
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด อ่อนเพลีย
ถ้ามีต่อมน้าเหลืองในช่องอกโต หายใจเสียงดัง ไอแห้ง ๆ กลืนลำบาก หน้า ลำตัวส่วนบนและแขนบวม
ตับ ม้ามโต
มีไข้ เหงื่อออกมาก
การวินิจฉัย
ตัดชิ้นเนื้อต่อมน้ำเหลืองไปตรวจ พบ รีดสเตอร์เบอร์เซลล์
เจาะไขกระดูกตรวจ หรือตัดไขกระดูกตรวจ
ตรวจนับเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว เกล็ดเลือด
ตรวจกระดูก (Bone scan) เพื่อดูการกระจายของโรคไปที่กระดูก
เอกซเรย์ทรวงอก เพื่อดูปอดและต่อมน้าเหลืองในช่องอก
การรักษา
รังสีรักษา ได้ผลดีในผู้ป่วยที่เป็นเฉพาะที่ ต่อมน้ำเหลืองทั้งหมด
เคมีบำบัด รักษามะเร็งในระยะที่ 4
รังสีร่วมกับยาเคมีบำบัดในระยะที่ 3 4
การพยาบาล
ประเมินอาการและอาการเกิดจากระดับโพแทสเซียม ฟอสเฟตสูงเกิน หรือแคลเซียมในเลือดต่ำ การรักษาด้วยเคมีบำบัด
ให้การพยาบาลเช่นเดียวกับเด็กที่เป็นมะเร็งอื่นๆ ที่ได้รับการรักษาด้วยรังสีรักษาและหรือเคมีบำบัด
มะเร็งต่อมน้าเหลืองนอนฮอดจ์กิน (Non Hodgkin lymphoma)
สาเหตุ
เชื้อไวรัส เอพสไตน์บาร์ (Epstein-Barr Virus)
เด็กมีระบบอิมมูนบกพร่องมาแต่กำเนิด
กรรมพันธุ์
การได้รับรังสี
ได้รับยากดระบบอิมมูน
อาการและอาการแสดง
ก้อนไปเบียดกระเพาะอาหารและลาไส้ เช่น อาเจียน ท้องผูก เบื่ออาหาร มีน้ำในช่องท้อง
ต่อมน้ำเหลืองโต ไม่เจ็บ
ไอ หายใจลาบาก
น้ำหนักลด
ซีด เลือดออกง่ายและติดเชื้อง่าย
การวินิจฉัย
ต่อมน้ำเหลืองโต ตับโต ม้ามโต
การตัดเนื้อเยื่อต่อมน้ำเหลืองไปตรวจทางพยาธิวิทยา
การตรวจนับเม็ดเลือดแดง อาจพบค่าปกติถ้าหากโรคยังไม่ลุกลามไปไขกระดูก
มีอาการ ซีด เลือดออกง่ายและติดเชื้อง่าย เมื่อมีการแพร่กระจายไปในไขกระดูก
ตรวจไขกระดูก
ตรวจน้ำไขสันหลังเพื่อดูว่าการแพร่กระจายของโรคไประบบประสาทส่วนกลาง
ตรวจกระดูก (Bone scan) เพื่อดูการกระจายของโรค
การรักษา
ยาเคมีบำบัดหลายชนิดร่วมกันทางช่องไขสันหลัง
ฉายรังสีรักษาที่ศีรษะ เพื่อป้องกันโรคแพร่กระจายไปที่สมอง
การพยาบาล
ประเมินอาการที่ทำให้เกิดระดับโพแทสเซียมสูง และฟอสเฟตสูง หรือแคลเซียมในเลือดต่า จากการให้เคมีบำบัด
ประเมินอาการมีเม็ดเลือดขาวต่ำ จากผลข้างเคียงของยา
เนื้องอกสมอง ( Brain Tumor)
สาเหตุ
การเจริญของneural crest
ผิดปกติ
เกิดใน midline ของก้านสมองหรือ cerebellum
อาการและอาการแสดง
ความดันในกะโหลกศีรษะสูง
ปวดศีรษะ คอแข็ง อาเจียนพุ่ง ชัก ซึม มองไม่เห็น
เด็กเล็ก งอแง กระหม่อมโป่งตึง รอยต่อกะโหลกศีรษะแยก ศีรษะโต
การรักษา
การผ่าตัด ทำ ventricular shunt ก่อน แล้วผ่าตัด
รังสีรักษา กรณีมะเร็งหลุดไปในไขสันหลัง
ไม่ฉายรังสีเด็กอายุน้อยกว่า 3 ปี
ยาเคมีบำบัด
Nitrosoureas , vincristin , metrotrexate , cisplatin
ยาลดบวมในสมอง
การพยาบาล
ก่อนการผ่าตัด อธิบายอาการ, ยาระบายอุจจาระ, โกนผม
หลังการผ่าตัด
ดูแลทางเดินหายใจ
ท่าหลังการผ่าตัดนอนราบศีรษะสูงเล็กน้อย ทับข้างที่ตรงข้ามกับที่ผ่าตัด
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
ประเมินอาการทางระบบประสาท
ควบคุมการให้สารน้ำ
ดูแลบาดแผล
ลดอาการปวดศีรษะ
นางสาว อรุณรัตน์ มัสแหละ เลขที่ 82