Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน ชช - Coggle Diagram
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน
การประเมินชุมชน(community assessment)
1.การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
ชนิดของข้อมูล (Type of Data)
ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data)
รวบรวมขอมูลจากผูใหขอมูล
โดยตรง
ข้อดี
ได้ข้อมูลครบตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ ทันสมัย
ข้อเสีย
เสียเวลา งบประมาณ
ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data)
รวบรวมขอมูลจากแหลง
ขอมูลที่มีอยูแลว
เช่น Family Folder,Database
ข้อดี
ไม่สิ้นเปลือง กําลังคน หรือค่าใช้จ่าย
ข้อเสีย
อาจไม่ได้ข้อมูลครบถ้วนตามที่ต้องการ
เครื่องมือ/ วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล (Methods/Tools)
1.การสังเกต (Observation):
พฤติกรรมสุขภาพ สิ่งแวดล้อม
2.การสํารวจ (Survey):
สํามะโนประชากร
3. การใช้แบบสอบถาม (Questionnaire):
การรับประทานอาหาร การป้องกันตัวไม่ให้ติด COVID 19
4. การวัดและประเมิน(Measurement):
BP, blood sugar, waist circumference, BMI, ADL
5. การทดสอบ (Test):
Timed up and go test, Child development
6. การสัมภาษณ์/สัมภาษณ์เชิงลึก
7. การสนทนากลุ่ม
การกําหนดกลุ่มเป้าหมาย
1.ประชากรทั้งหมด (Census)
2.การสุ่มตัวอย่าง (Random Sampling) เช่น การใช้การสุ่มแบบง่าย หรือการสุ่มแบบเป็นระบบ
ข้อมูลที่นํามาใช้ในการประเมินภาวะสุขภาพชุมชน
ข้อมูลทั่วไปของชุมชน
ข้อมูลประชากร
ข้อมูลด้านสุขภาพ
ข้อมูลด้านพฤติกรรมสุขภาพ
ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม
ข้อมูลด้านการบริการสุขภาพ
2.การวิเคราะห์ข้อมูล (Data analysis)
ข้อมูลเชิงปริมาณ
Descriptive Stat.
ข้อมูลทัวไปส่วนบุคคล เช่น อายุ เพศ การศึกษา อาชีพ ราย
ได้:
Percentage, Mean and SD.
ข้อมูลด้านสุขภาพ
อัตราเกิด อัตราตาย อัตราความชุก อัตราอุบัติการณ์
Inferential Stat.
T-Test, Chi-Square etc.
ข้อมูลเชิงคุณภาพ
การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ( Content Analysis)
3.การนําเสนอข้อมูล (Data Presentation)
หลักการ:
ถูกต้อง กระชับ น่าสนใจ เข้าใจง่าย
Text
Table
Bar Chart
Pie Chart
Line Graph
Pyramid Diagram
การวินิจฉัยชุมชน (Community Diagnosis)
1.
การระบุปัญหา
ใช้เกณฑ์ ตัวชี้วัดด้านสุขภาพ
เช่น ตัวชี้วัดการดําเนินงานด้านสุขภาพของกระทรวง ของจังหวัด เกณฑ์จปฐ. เป็นต้น
5D
Dead, Disability, Disease, Discomfort, Dissatisfaction
กระบวนการกลุ่ม (Nominal Group Process)
วิธีการเขียนปัญหาสุขภาพชุมชน
ใคร เป็นอะไร ปริมาณเท่าไร
Ex. ครัวเรือน มีแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ร้อยละ 30
การระบุปัญหา พร้อมเกณฑ์ และข้อมูลสนับสนุน
ปัญหา : ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปไม่ตรวจคัดกรองโรคเบาหวานร้อยละ 46
เกณฑ์: เกณฑ์ตัวบ่งชี้ด้านสุขภาพ สสจ:ประชานอายุ 35 ปี ขึ้นไป ตรวจคัดกรอง DM ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
ข้อมูลสนับสนุน: -ประชาชนป่วยด้วย DM เพิ่มขึ้นทุกปี, -ประชาชนชอบรับประทานหวาน ดื่มเครื่องดื่มที่มีรสหวาน
2.
การจัดลําดับความสําคัญของปัญหา
องค์ประกอบ 4 ประการ
ขนาดของปัญหา (Size of Problem)
ให้คะแนน
1 = ขนาดของปํญหามากกว่า 0-25%
2 = ขนาดของปํญหามากกว่า 25-50%
3 = ขนาดของปัญหามากกว่า 50-75%
4 = ขนาดของปัญหามากกว่า 75-100%
ความรุนแรง (Severity of Problem)
1= มีภาวะเสี่ยง เจ็บป่วยเล็กน้อยรักษาหาย
2 = เจ็บป่วยเรื้อรัง สูญเสียเงินรักษามาก ก่อให้เกิดการระบาด/ติดต่อ
3 = เกิดความพิการ/ทุพพลภาพ
4 = ตาย
ความยากง่าย(Ease of Management of Susceptibility)
1 = ปัญหานั้นแก้ไขได้ยากมากๆ
2 = ปัญหานั้นแก้ไขได้ยาก
3 = ปัญหานั้นแก้ไขได้ง่าย
4 = ปํญหานั้นแก้ไขได้ง่ายมากๆ
(อย่าลืม ด้านวิชาการ ด้านบริหาร ด้านระยะเวลา ด้านกฎหมาย ด้านศีลธรรมให้นํามาคิดด้วยเสมอ )
ความวิตกกังวล/ความสนใจของชุมชน(Community concern)
1 = จํานวนประชาชนที่มีความกังวลต่อปัญหา 0-25%
2 = จํานวนประชาชนที่มีความกังวลต่อปัญหามากกว่า 25-50%
3 = จํานวนประชาชนที่มีความกังวลต่อปัญหามากกว่า 50-75%
4 = จํานวนประชาชนที่มีความกังวลต่อปัญหามากกว่า 75-100%
จัดลําดับความสําคัญของปัญหา
พิจารณาจากผลคะแนนทั้ง 4องค์ประกอบที่นำมาบวก และคูณคะแนนมากจัดเป็นลำดับที่ 1 รองมาลำดับที่ 2 และคะแนนน้อยสุดอยู่ลำดับสุดท้ายตามลำดับ
การระบุสาเหตุ และทําโยงใยสาเหตุของปัญหา
ชนิดของสาเหตุ (Type of Causation)
-สาเหตุทางอ้อม
-สาเหตุทางตรง
ชนิดของโยงใยสาเหตุของปัญหา (Type of web of causation)
โยงใยสาเหตุทางทฤษฎี (Theoretical Web of causation)
โยงใยสาเหตุที่เกิดขึ้นจริง (Causal Web of causation)
การวางแผนแก้ไขปัญหา(planning)
ประเภทของแผน
แผนระยะยาว (5-10 ปี)
แผนระยะปานกลาง (2-5 ปี)
แผนระยะสั้น (2 ปี)