Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5.6 โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
บทที่ 5.6 โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์
Hepatitis B
ผลกระทบ
ต่อหญิงตั้งครรภ์
มีเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด
ก่อนคลอดเกิดจากรกลอกตัว
ก่อนกำหนด
ความดันโลหิตสูงได้
พบอัตราการชักนำการคลอด และอัตราการผ่าตัดคลอดเพิ่มขึ้น
จะมีโอกาสเกิดเบาหวานขณะ
ตั้งครรภ์
ต่อทารก
การแท้ง
การตายคลอด
การคลอดก่อนกำหนด
ีเลือดออกในสมองได
แนวทางการรรักษา
1.การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีจากมารดาสู่ทารกในระยะก่อนการคลอด
พิจารณาความจำเป็นในการให้ยาต้านไวรัสจาก HBeAg
แนะนำให้พิจารณา
เป็นอันดับแรกได้แก่ Tenofovir Disoproxil Fumarate (TDF) 300 mg.
ควรหลีกเลี่ยงการทำสูติศาสตร์
หัตถการเพื่อการช่วยคลอดโดยไม่จำเป็น
2.การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีจากมารดาสู่ทารกในระยะหลังคลอด
ควรรับประทาน Tenofovir Disoproxil Fumarate (TDF) 300 mg. วันละ 1ครั้ง จนถึง 4 สัปดาห์หลังคลอด
อาการและอาการแสดง
ปวดท้อง
ปัสสาวะสีเข้ม อุจจาระสีซีด
คลื่นไส้ อาจียน
ปวดข้อ
เบื่ออาหาร
ตาตัวเหลือง
อ่อนเพลีย
มีไข้
บทบาทพยาบาลผดุงครรภ์
ระยะคลอด
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัสเลือดลารคัดหลั่ง
ดูแลให้การคลอดดำเนินไปตามปกติ
ดูแลทารกแรกเกิดโดยการใช้หลัก universal precaution ในการจับต้องหรืออุ้มทารก
ระยะหลังคลอด
ให้คำแนะนำในการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อเกี่ยวกับน้ำคาวปลาและสิ่งคัดหลั่ง
ประเมินภาะหัวนมแตกและส่งเสริมการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาอย่างเดียว 6 เดือน
แนะนำการคุมกำเนิดและการวางแผนครอบครัวอย่างเหมาะสม
แนะนำการปรับบตัวด้านจิตสังคม การผ่อนคลายความเครียด
ระยะตั้งครรภ์
การส่งตรวจเลือดหา HBsAg
การคัดกรองโดยการซักประวัติ
ให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัวกรณีที่มีการติดเชื้อ
หัดเยอรมัน
การรักษาพยาบาล
ในรายที่ไม่ต้องการยุติการตั้งครรภ์ แพทย์อาจพิจารณาฉีด Immunoglobulin
แนะนำพักผ่อนให้เพียงพอ
สำหรับหญิงตั้งครรภ์ในระยะ 3 เดือนแรก แพทย์จะแนะนำให้
ยุติการตั้งครรภ์
แนะนำดื่มน้ำให้เพียงพอ จิบบ่อย ๆ
ถ้ามีไข้แนะนำรับประทานยา paracetamal ตามแพทย์สั่ง
ภาวะแทรกซ้อน
หัวใจพิการ
ต้อกระจก
หูหนวก
อาการและอาการแสดง
ระยะก่อนออกผื่น
ปวดศีรษะ
ตาแดง
ไข้ต่ำ
คออักเสบ
ปวดกล้ามเนื้อ
พบKopliki's spot
ระยะออกผื่น
มีตุ่มนูน ขึ้นที่ใบหน้าก่อนจะลงมาตามผิวหนังส่วนอื่นๆ
จะมีผื่นแดงเล็กๆ
ซิฟิลิส
ภาวะแทรกซ้อน
การคลอดก่อนกำหนด
ทารกในครรภ์โตช้า
ทารกตาบอด
ทารกบวมน้ำ
เสี่ยงต่อการแท้งหลังอายุครรภ์ 4 เดือน
การรักษา
ระยะต้น
ให้ยา Benzathine penicillin G 2.4 mUIM ครั้งเดียว แบ่งฉีดที่
สะโพก ข้างละ 1.2 mU
ระยะปลาย
ให้ยา Benzathine penicillin G 2.4 mUIM สัปดาห์ละครั้ง นาน
3 สัปดาห์ แบ่งฉีดที่สะโพก ข้างละ 1.2 mU
อาการและอาการ
2.ซิฟิลิสทุติยภูมิ(secondary syphilis)
ผื่นที่เกิดขึ้นจะมีลักษณะสีแดงน้ำตาลไม่คัน
พบทั่วตัวผ่ามือผ่าเท้าอาจมีไข้หรือ
ปวดตามข้อจากการเกิดข้ออักเสบ
ผื่นในช่วง 2-3 สัปดาห์หลังจา
แผลริมแข็งหายแล้ว
ต่อมน้ำเหลืองโต
ผมร่วง
3.ซิฟิลิสระยะแฝง (latent syphilis)
หลังจากได้รับเชื้อ 2-30 ปี เป็นช่วงที่ไม่มีอาการ
1.ซิฟิลิสปฐมภูมิ(primary syphilis)
เป็นลักษณะขอบนูนไม่เจ็บ
ต่อมน้ำเหลืองโตกดไม่เจ็บ
หลังจากได้รับเชื้อ 10-90 วัน เป็นระยะที่มีแผลริม
แข็งมีตุ่มแดงที่อวัยวะเพศ ริมฝีปาก
4.ซิฟิลิสระยะตติยภูมิ(tertiary or late syphilis)
หลังจากได้รับเชื้อ 2-30 ปี เชื้อจะทำลายอวัยวะภายในเช่น หัวใจและหลอดเลือดสมอง ตาบอด
การพยาบาล
ระยะคลอด
เน้นการใช้หลัก Universal precaution และป้องกันการติดเชื้อโดยดูดเมือกออกจากปากและ
จมูกโดยเร็ว
ระยะหลังคลอด
สามารถให้นมได้ตามปกติ ล้างมือก่อนและหลังสัมผัสทารก
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำการรักษาความสะอาดอวัยวะเพศ และการป้องกันโรคโดยการสวมถุงยางอนามัย
แนะนำให้พาสามีมาตรวจและรักษาด้วย
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ให้การปรึกษาและดูแลทางด้านจิตใจ
ควรอธิบายให้เห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองซิฟิลิสขณะตั้งครรภ์
โรคเริมที่อวัยวะเพศ
ภาวะแทรกซ้อน
ทารกที่ติดเชื้อในร่างกาย อาจมีตุ่มน้ำใสๆ ตามร่างกาย ตาอักเสบ มีไข้หนาวสั่น ซึม ไม่ดูดนม ตับม้ามโต มีการอักเสบของปาก
การรักษา
การให้ยา antiviral drug เช่น acyclovir, valacyclovir และ famciclovir
ในสตรีตั้งครรภ์ที่เจ็บครรภ์คลอดโดยที่มี Herpes lesion ควรได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
ควรให้ยาปฏิชีวนะและดูแลแผลให้สะอาดในรายที่ติดเชื้อ แผลไม่สะอาด
อาการและอาการแสดง
ปวดเมื่อยตัว
ต่อมน้ำเหลืองโต
ไข้
อ่อนเพลีย
ะเกิดเป็นกลุ่ม vesicles ที่ผิวหนังของอวัยวะ
เพศ มีอาการปวดแสบปวดร้อนมาก
การพยาบาล
ระยะคลอด
เน้นการใช้หลัก Universal precaution และหลีกเลี่ยงการทำหัตถการ
ระยะหลังคลอด
สามารถให้นมได้ตามปกติ ล้างมือก่อนและหลังสัมผัสทารก
ระยะตั้งครรภ์
ดูแลการให้ยาต้านไวรัสตามแผนการรักษา
หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ขณะมีแผล ควรใช้ถุงยางอนามัย
เพิ่มภูมิต้านทานโดยการรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ พักผ่อนอย่างเพียงพอ ออกกำลังกายเป็นประจำ และการตรวจสุขภาพประจำปี โดยเฉพาะการทำ pap smear
แนะนำการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา ควรล้างมือให้สะอาดก่อนสัมผัสหรือให้นมบุตร
ลดความไม่สุขสบายจากการปวดแสบปวดร้อน โดยแนะนำการดูแลแผลให้แห้งและสะอาดอยู่เสมอ
ลดความวิตกกังวลเกี่ยวกับการผ่าตัดและการแพร่เชื้อไปยังทารก ต้องประคับประคองจิตใจ กระตุ้นให้ระบายความรู้สึก
หูดหงอนไก
การรักษา
การจี้ไฟฟ้า แสงเลเซอร์พบว่าได้ผลดี และสามารถให้คลอดทางช่องคลอดได้
การคลอดสามารถให้คลอดทางช่องคลอดได้ ยกเว้นหูดมีขนาดใหญ่ซึ่งทำให้ขัดขวางช่องทางคลอด และอาจทำให้เกิดการฉีกขาดมาก ควรผ่าตัดคลอด
การรักษาด้วยสารเคมี เช่น จี้ด้วย trichloroacetic acid 80-90% สัปดาห์ละครั้ง ในหญิงตั้งครรภ์ห้ามใช้ podophyllin หรือ podofilox
การพยาบาล
แนะนำการรักษาความสะอาดของอวัยวะเพศ หลีกเลี่ยงการอับชื้นบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์
.แนะนำให้สตรีตั้งครรภ์ส่งเสริมสุขภาพตนเองให้แข็งแรง
ดูแลให้ได้รับการรักษาตามแผนการรักษา เช่น จี้ด้วย trichloroacetic acid หรือ lasersurgery
อาการและอาการแสดง
มองเห็นหูดขึ้นรอบ ๆ ทวารหนักและในทวารหนัก ลักษณะ
เป็นก้อนสีชมพู นุ่ม ผิวขรุขระ มีสะเก็ด
ตกขาวมีกลิ่นเหม็นและคัน
โรคเอดส์
การรักษา
ยากลุ่ม Non-nucleoside analogues reverse transcriptase inhibitorได้แก่ nevirapine, delarvirdine และ efavirenz
ยากลุ่ม Protease inhibitors ได้แก่ indinavir, ritonavir, saquinavir, nelfinavir และ amprenavir
ยากลุ่ม Nucleoside analogues reverse transcriptase inhibitor เช่น การให้ Azidothymidine (AZT) หรืออีกชื่อหนึ่งคือ zidovudine (ZDU)
การให้ยาต้านไวรัส
ระหว่างเจ็บครรภ์คลอด
หากคลอดโดยการผ่าตัดให้กินยาก่อนเริ่มผ่าตัดอย่างน้อย 4 ชม
ในรายที่ viral load น้อยกว่า 50 copies / ml ไม่ต้องให้ยาระหว่างเจ็บครรภ์คลอด
ให้เพิ่ม AZT 300 mg ทุก 3 ชม. หรือ AZT 600 mg ครั้งเดียว ไม่ว่าจะใช้ยาสูตรใด
หลีกเลี่ยงการให้ยา Methergine เนื่องจากจะทำให้หญิงที่กินยา LPV/r หรือ EFV อยู่เกิด severe vasoconstriction ได
หลังคลอด
ให้ยาหลังคลอดต่อทุกรายที่สมัครใจ มีความพร้อม สามารถกินยาได้ต่อเนื่องสม่ำเสมอโดยเฉพาะกลุ่มต่อไปนี้
CD4 < 500 cells / mm 3
คู่มีผลเลือด ลบ หรือ ไม่ทราบผลเลือดค
มีการติดเชื้อร่วม เช่น วัณโรค ไวรัสตับอักเสบ บี ไวรัสตับอักเสบ ซี
ขณะตั้งครรภ์
กรณีที่ 1 หญิงตั้งครรภ์ไม่เคยได้รับยาต้านไวรัสมาก่อน
สูตรแรก TDF + 3TC + EFV โดยแนะนำให้ยาต่อหลังคลอดทุกราย
สูตรที่ 2 AZT + 3TC + LPV/r หรือ TDF + 3TC + LPV/r ในกรณีที่ดื้อยากลุ่ม NNRTIs หรือจำเป็นต้องหยุดยาหลังคลอด
กรณี่ 2 หญิงตั้งครรภ์ ได้รับยาต้านไวรัสมาก่อนตั้งครรภ์ ไม่ต้องหยุดยา
ควรใช้สูตรยาที่ทำให้ viral load ลดลง จนวัดไม่ได้จะดีที่สุด
หากพบว่า viral load มากกว่า 1000 copies / ml ทั้งที่กินยาสม่ำเสมอนาน 6 เดือน ให้ส่งปรึกษาผู้เชี่ยวชาญทันท
ในทารกแรกเกิด
AZT ขนาด 4 mg/kg/dose ทุก 12 ชม. ให้นานต่อเนื่อง 4 สัปดาห
การติดต่อ
จากมารดาสู่ทารก (vertical transmission)
ทางกระแสเลือด
การมีเพศสัมพันธ์ที่เสี่ยงมากที่สุดคือ การร่วมเพศทางทวารหนัก
การพยาบาล
ระยะคลอด
หลีกเลี่ยงการทำให้ถุงน้ำแตกหรือรั่วทำคลอดโดยยึดหลัก Universal
precaution
ระยะหลังคลอด
งดให้นมบุตร
เน้นให้มาตรวจหลังคลอดตามกำหนด
ให้อยู่ในห้องแยก
ในทารกหลังคลอด ให้ NPV 2 มก./กก. ทันที และให้ AZT 2 มก./กก./วัน
ระยะตั้งครรภ์
ตรวจหาระดับCD4 ถ้าต่ำกว่า 400 เซลล์ต่อลูกบาศก์มิลลิเมตร อาจพิจารณาให้prophylaxis pneumocystis carinii pneumonia (PCP)
ให้ AZT โดยให้ AZT 300 มก. รับประทานวันละ 2 ครั้ง ตั้งแต่อายุครรภ์ 28 สัปดาห์จนกระทั่งคลอด
ให้ความเห็นใจและให้กำลังใจผู้ป่วยและแนะนำการปฏิบัติตัวในการรักษาสุขภาพตนเองและป้องกันการแพร่เชื้อในครอบครัว
อาการและอาการแสดง
กลุ่ม 1
เป็นกลุ่มที่ไม่มีอาการทางคลินิก มีเพียงการตรวจ Elisa ให้ผลบวก
กลุ่ม 2
เป็นกลุ่มอาการคล้ายเอดส์ คือ ไข้ ปวดเมื่อยตามตัว อ่อนเพลีย ผื่นตามตัว
ปวดศีรษะ เจ็บคอ ผล CD4 ต่ำกว่า 500-200 cm3
กลุ่ม 3
เป็นกลุ่มอาการที่มีอาการสัมพันธ์กับเอดส์
การติดเชื้อไวรัสซิกกา
ภาวะแทรกซ้อน
พัฒนาการล่าช้า
ความผิดปกติในการ ดูดหรือการกลืน
ภาวะศีรษะเล็กแต่กำเนิดของทารกในครรภ์
อาจเป็นอันตรายถึงชีวิต
การป้องกัน
ป้องกันยุงกัดและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุง ยุงลายที่เป็นพาหะมักออกหากินเวลากลางวัน
อาการและอาการแสดง
ปวดศีรษะ
ออกผื่นที่ลำตัว และแขนขา
มีอาการไข
ปวดข้อ ปวดในกระบอกตาเยื่อบุตาอักเสบ
ไข้ซิกามีระยะฟักตัว 2-7 วัน
การรักษา
ยังไม่ยารักษาโรคไข้ซิกาโดยตรง การรักษาคือการให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ ดื่มน้ำในปริมาณ2,000-3,000 ลิตรต่อวัน นอกจากการรักษาประคองไปตามอาการ