Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีที่มีโรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์, นางสาวเบญญาฑิตา…
การพยาบาลสตรีที่มีโรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์
ไวรัสตับอักเสบบี (Hepatitis B)
การวินิจฉัยคัดกรอง
HBsAg: การติเชื้อไวรัสตับอักเสบบี
HBeAg: ความสามารถในการแบ่งตัวของไวรัสตับอักเสบบี
Anti HBc: เป็นภูมิคุ้มกัน บอกถึงการเคยติดเชื้อไวรัสบี
Anti HBc-IgM: พบในตับอักเสบเฉียบพลัน
Anti HBc-IgG: พบได้ทั้งในตับอักเสบเฉียบพลัน,เรื้อรัง หรือแม้แต่ผู้ที่ตรวจไม่พบเชื้อแล้ว
Anti HBe: พบหลังจากตรวจไม่พบ HBeAg ในเลือดแล้ว
Anti HBs: พบหลังจากตรวจไม่พบ HBeAg ในเลือดแล้ว หรือเป็นภูมิคุ้นกันต่อการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี
อาการและอาการแสดง
มีไข้ อ่อนเพลีย
เบื่ออาหาร
คลื่นไส้ อาเจียน
ปัสสาวะสีเข้ม
มีอาการตัวเหลืองตาเหลือง
ไตรมาสที่ 1 และ 2 ถ่ายทอดสู่ทารกได้ร้อยละ 10
ไตรมาสที่ 3 ถ่ายทอดสู่ทารกได้ร้อยละ 75
แนวทางการรักษา
1.การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีจากมารดาสู่ทารกในระยะก่อนการคลอด
หลีกเลี่ยงการทำสูติศาสตร์หัตถการเพื่อช่วยการคลอดโดยไม่จำเป็น
พิจารณาความจำเป็นให้ยาต้านไวรัสจาก HBeAg เริ่มที่อายุครรภ์ 28-32 สัปดาห์
2.การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีจากมารดาสู่ทารกในระยะหลังคลอด
มารดาควรรับประทาน Tenofovir Disoproxil Fumarate 300 mg วันละครั้ง จนถึง 4 สัปดาห์หลังคลอด
การดูแลทารกแรกเกิดในหญิงตั้งครรภ์ที่มีการติดเชื้อแต่ผลลบ มี Anti HBV น้อยกว่า10 IU/ml
HBIG ขนาด 0.5 ml ฉีดเข้ากล้ามเนื้อทันที
Hepatitis N Vaccine ภายใน 12 ชั่วโมงหลังคลอด หลังจากนั้นฉีดต่อเนื่องเมื่ออายุครบ 1,2,4 และ 6 เดือน
บทบาทพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
คัดกรอง ซักประวัติ
ส่งตรวจเลือดหา HBsAg พร้อมให้คำปรึกษาก่อนและหลังเจาะเลือด
ให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัวกรณีติดเชื้อ
ระยะคลอด
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อใช้หลัก universal Precaution ทั้งในระยะรอคลอดและขณะคลอด
ดูแลให้การคลอดดำเนินไปตาปกติ
ระยะหลังคลอด
ให้คำแนะนำในการป้องกันการแพร่ประจายเชื้อ
ส่งเสริมเลี้ยงบุตด้วยนมมารดาอย่างเดียว 6 เดือน
แนะนำการวางแผนครอบครัวอย่างเหมาะสม
หัดเยอรมัน (Rubella)
อาการและอาการแสดง
ระยะก่อนออกผื่น
ไข้ต่ำ
ปวดศีรษะ
ตาแดง
คออักเสบ
Koplik's spot
ระยะออกผื่น
มีผื่นหลังมีไข้ 3-4 วัน
มีตุ่มนูน
ภาวะแทรกซ้อน
หูหนวก อาจเกิดข้างเดียวหรือสองข้างก็ได้
หัวใจพิการ
ต้อกระจก
การรักษาพยาบาลสำหรับหญิงตั้งครรภ์
แนะนำพักผ่อนผ่อนให้เพียงพอ
แนะนำดื่มน้ำให้เพียงพอ จิบน้ำบ่อยๆ
ถ้ามีไข้แนะนำรับประทานยาตามที่แพทย์สั่ง
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจน้ำลายและการตรวจเลือด โดยวิธี ELIS
ซิฟิลิส (Syphilis)
การวินิจฉัย
การตรวจเลือด
เจาะเลือดเพื่อหาภูมิคุ้มกันเบื้องต้น เช่น VDRL
เจาะเลือดที่เฉพาะเจาะจง คือ FTA-ABS
การส่งตรวจน้ำไขสันหลัง
อาการและอาการแสดง
1.Primary Syphilis
มีแผลริแข็งมีตุ่มแดงที่อวัยวะเพศ ริมฝีปาก
ต่อมน้ำโตกดไม่เจ็บ
2.Secondary Syphilis
ผื่นที่เกิดขึ้นมีลักษณะสีน้ำตาล ไม่คัน
มีไข้
ปวดตามข้อจากการเกิดข้ออักเสบ
ต่อมน้ำเหลืองโต
3.Latent Syphilis
ไม่มีอาการ
4.Tertiary Syphilis
เชื้อทำลายอวัยวะภายใน
ตาบอด
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
อธิบายให้เห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองซิฟิลิสขณะตั้งครรภ์
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการ
แนะนำการรักษาความสะอาดอวัยวะเพศ
แนะนำให้สามีมาตรวจหรือรักษา เพื่อป้องกันการติดเชื้อซ้ำ
ระยะคลอด
ป้องกันการติดเชื้อโดยดูดเมือกออกจากปากแลพจมูกโดยเร็ว
เจาะเลือดจากสายสะดือเพื่อส่งตรวจการติดเชื้อ
ระยะหลังคลอด
ล้างมือก่อนและหลังสัมผัสทารก
สามารถให้นมบุตรได้ตามปกติ
โรคเริมที่อวัยวะเพศ
อาการและอาการแสดง
ไข้
ปวดเมื่อยตัว
ต่อมน้ำเหลืองโต
อ่อนเพลีย
ภาวะแทรกซ้อนในทารก
ตาอักเสบ
ไม่ดูดนม
ตับม้ามโต
มีการอักเสบของช่องปาก
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะและดูแลแผลให้สะอาดในรายที่ติดเชื้อ
การให้ยา Antiviral Drug เช่น acyclovir ไม่มีผลต่อการตั้งครรภ์
ในรายที่เจ็บครรภ์คลอดโดยที่มี Herpes lession ควรได้รับการผ่าตัดทางหน้าท้อง
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำการดูแลแผลให้แห้งและสะอาดอยู่เสมอ
เพิ่มภูมิต้านทานโดยการรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ ตรวจสุขภาพประจำปี
ดูแลการให้ยาต้านไวรัสตามแผนการรักษา
หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ขณะมีแผล
ระยะคลอด
Universal precaution
หลีกเลี่ยงการทำหัตถการ เช่น การตรวจภายใน
ระยะหลังคลอด
ล้างมือก่อนและหลังสัมผัสทารก
หูดหงอนไก่
อาการและอาการแสดง
มีหูดขึ้นรอบๆทวารหนัก
ตกขาวมีกลิ่นเหม็นและคัน
การรักษา
จี้ด้วย Trichloroacetic acid 80-90%
จี้ไฟฟ้า
สามารถให้คลอดทางช่องคลอดได้
การพยาบาล
จี้ด้วย Trichloroacetic acid หรือ Laser surgery
แนะนำการรักษาความสะอาดของอวัยวะเพศ
แนะนำให้ส่งเสริมสุขภาพตนเองให้เข้มแข็ง
โรคเอดส์ (AIDs)
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจทางร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ELISA
IFA
อาการและอาการแสดง
กลุ่ม 1 : ไม่มีอาการทางคลินิก การตรวจ ELISA ให้ผลบวก
กลุ่ม 2 : กลุ่มอาการคล้ายเอดส์ ผล CD4 ต่ำกว่า 500-200
กลุ่ม 3 : กลุ่มอาการที่มีอาการสัมพันธ์กับโรคเอดส์ คือ ไข้สูงฉับพลัน ต่อมน้ำเหลืองโต
การรักษา
ยากลุ่ม Nucleoside analogues reverse transcriptase inhibitor เช่น AZT, d4T และอื่นๆ
ยากลุ่ม Non-Nucleoside analogues reverse transcriptase inhibitor เช่น nevirapine, delarvirdine
ยากลุ่ม Protease inhibitor เช่น indinavir, amprenavir
การพยาบาล
ระยะการตั้งครรภ์
ให้ความเห็นใจและให้กำลังใจผู้ป่วยและแนะนำการปฏิบัติตัว
ตรวจหาระดับ CD4
ให้ AZT 300 mg. รับประทานวันละ 2 ครั้ง ต้องแต่อายุครรภ์ 28 สัปดาห์
ระยะคลอด
หลีกเลี่ยงการทำให้ถุงน้ำคร่ำแตกหรือรั่ว
ระยะหลังคลอด
งดให้นมบุตร
แนะนำวิธีการคุมกำเนิดที่มีประสิทธิภาพ
ในทารกหลังคลอดให้ NPV 2 mg./kg. ทันที และให้ AZT 2 mg./kg./วัน และติดตามตรวจ
ไวรัสซิกกา (Zika fever)
อาการและอาการแสดง
ไข้
ปวดศีรษะ
ออกผื่นที่ลำตัว
ปวดในกระบอกตา เยื่อบุตาอักเสบ
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจหาแอนติบอดี
ตรวจ DNA สามารถตรวจได้จากน้ำเหลือง
การตรวจหาพันธุกรรมด้วยวิธี RT-PCR
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะศีรษะเล็กแต่กำเนิดของทารกในครรภ์
การรักษา
พักผ่อนให้เพียงพอ
ดื่มน้ำในปริมาณ 2,000-3,000 ml./วัน
ห้ามรับประทานยา Aspirin1 หรือยากลุ่ม NSAIDs
นางสาวเบญญาฑิตา ศรีจันทร์ 602701052