Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.3 ความผิดปกติของฮอร์โมน - Coggle Diagram
5.3 ความผิดปกติของฮอร์โมน
โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (Gestational diabetes mellitus)
ผลกระทบต่อมารดา
diabetic retinopathy
diabetic nephropathy
ketoacidosis
infection
preterm birth
Dystocia
Polyhydramnios
ผลกระทบต่อทารก
Abortion
Malformation
Fetal death
IUGR
RDS
Neonatal hypoglycemia
Hyperbilirunemia
Polycythemia
Gestational diabetes mellitus : เบาหวานขณะตั้งครรภ์ ตรวจพบครั้งแรกระหว่างการตั้งครรภ์
GDM A-1 : fasting plasma glucose <105 mg/dl 2-hour post prandial glucose <120 mg/dl
GDM A-2 : fasting plasma glucose >105 mg/dl 2-hour post prandial glucose >120 mg/dl
overt diabetes mellitus : เบาหวานก่อนการตั้งครรภ์ ก่อนอายุครรภ์ 24 wk
Type I พึ่งพาอินซูลิน
Type II ไม่พึ่งพาอินซูลิน
การวินิจฉัย
การประเมินภาวะเสี่ยง
BMI>27 kg/m2
คลอดผิดปกติ
Hx.DM
อายุมากกว่า 35 ปี
Urine : trace
Glucose challenge test
glucose 50 g 1 hr
-plasma glucose>140 mg/dl ส่งOGTT
-140-199 mg/dl นัด1 wk มาตรวจDM
-200 mg/dl =GDM
การดูแลรักษา
ระยะตั้งครรภ์
การใช้ insulin
สังเกตเด็กดิ้น
ควบคุมน้ำหนัก
รักษาความสะอาดของร่างกาย
ควบคุมอาหาร(C : 55%,F : 25%, P : 20%)
ระยะคลอด
การใช้ insulin
IV fluid
การกำหนดเวลาคลอด
คลอดตามข้อบ่งชี้ หากตัวโตอาจC/S
ระยะหลังคลอด
Breast feeding
การคุมกำเนิด
การดูแลทั่วไป
การดูแลทารกแรกเกิด
ควบคุมระดับนน้ำตาล
Hyperthyroidism
อาการและอาการแสดง
ต่อมไทรอยด์มีขนาดโตขึ้น
ขี้ร้อน หงุดหงิดง่าย
ชีพจรเต้นเร็วมากกว่า100 ครั้ง/นาที
น้ำหนักลด
มือสั่น
ตาโปน
ผลกระทบต่อมารดา
แท้งและคลอดก่อนกำหนด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อทารก
IUGR
ภาวะพร่องไทรอยด์แต่กำเนิด
ต่อมไทรอยด์เป็นพิษแต่กำเนิด
การวินิจฉัยโรค
การซักประวัติ : มีอาการและอาการแสดงของ Hyprethyroidism
การตรวจร่างกาย
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ : เจาะเลือดตรวจ TSH จะต่ำ(ค่าปกติ 0.35-5 mU/dl) T3,T4 up take สูง(FT4 0.8-2.3ng/dl , T3 80-220 ng/dl)
แนวทางการรักษา
1.การให้ยา
Methimazole
Radioiodine therapy
Propylthiouracil(PTU) 100-150 mg/day
Inderal
2.การผ่าตัด
ภาวะฉุกเฉิน : Thyroid storm
หัวใจเต้นเร็ว ชีพจร 140 ครั้ง/นาที
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ท้องเสีย
ไข้ 38.5 c หลังจากการคลอดหรือการผ่าตัดคลอด 2-3 ชม.
สับสน ชัก หมดสติ
กิจกรรมการพยาบาล
ระยะคลอด
ระยะที่ 1 ของการคลอด
ดูแลให้ยาระงับปวด
ประเมินความก้าวหน้าการคลอด
วัดV/S q 1-2 ชม
ประเมินสภาพทารกในครรภ์
จัดท่า Fowler position
ระยะที่ 2 ของการคลอด
ประเมินV/S ทุก 10 นาที
ให้ผู้คลอดเบ่งน้อยที่สุด
ฟังFSH q 5 นาที
หลังคลอดฉีด syntocinon
ห้ามให้ methergin
ระยะหลังคลอด
ให้พักผ่อน ช่วยเหลือกิจกรรม
ดูแลให้รับยา PTU
ป้องกันการตกเลือด
Breast feeding (PTUไม่เกิน 150-200 mg/day , MMI ไม่เกิน 10 mg/day)
แนะนำการปฏิบัติตัวหลังคลอด : การป้องกันการติดเชื้อ 24ชม.แรกหลังคลอด : อาการหายใจไม่สะดวก เหนื่อย อ่อนเพลีย ใจสั่น
การวางแผนครอบครัว แนะนำให้คุมกำเนิดโดยใช้ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน เท่านั้น
ระยะตั้งครรภ์
อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบเกี่ยวกับอาการ
แนะนำการปฏิบัติตัว
รับประทานอาหาร 4000-5000 แคลอรี
พักผ่อนอย่างน้อย 8-10 ชม.
รับประทานยาสม่ำเสมอ
รักษาความสะอาด
นับการดิ้นของทารก
อธิบายเกี่ยวกับโรค
Hypothyroidism
สาเหตุ
จากกรผ่าตัดหรือฉายรังสี
การขาดไอโอดีน
มีการทำลายเนื้อต่อมไทรอยด์
อาการและอาการแสดง
เบื่ออาหาร
ผมร่วง เล็บเปราะ เสียงแหบ
ทนความเย็นไม่ได้
ผิวแห้ง
น้ำหนักเพิ่ม
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-FT4 ต่ำ -TSHสูง
แนวทางการรักษา
Levothyroxine(T4) 100-200 ug/day วันละ 1 ครั้ง นาน 3 สัปดาห์ ซึ่งยาไม่ผ่านรก
ปรับขนาดยาตามระดับ TSH,T4
ติดตามการทำงานของต่อมไทรอยด์ทุกไตรมาส
ผลกระทบ
ต่อทารก
ทารกมีความบกพร่องทางสมอง
Cretinism
ต่อมารดา
ทารกตายในครรภ์
ตกเลือดหลังคลอด
คลอดก่อนกำหนด
ความดันโลหิตสูง
แท้ง