Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้คลอดที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับปัจจัยการคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้คลอดที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับปัจจัยการคลอด
Power
1.Maternal force แรงเบ่งมารดา
Maternal exhaustion:ให้สารน้ำทางเส้นเลือด
Maternal nervousness:ให้คำแนะนำ ปลอบโยน
Analgesics/sedative drug : ให้ยาในขนาด/เวลาเหมาะสม
Poor maternal force : สอนเบ่งถูกวิธี
2.Uterine contraction แรงหดรัดตัวของมดลูก
Uterine dysfunction
Hypotonic Uterine Dysfunction
มดลูกหดรัดตัวน้อย ความดันในโพรงมดลูกน้อยกว่า 25 mmHg. —->Active phase
สาเหตุ : : Cephalopelvic disproportion, Malpresentation, Malposition Overdistended uterus ; multiple pregnancy, polyhydramnios, Over dose of Analgesic ,drug, full bladder
Uterine dysfunction
Hypertonic Uterine Dysfunction
มดลูกหดรัดตัวรุนแรง แต่ไม่สัมพันธ์กัน
ความดันในโพรงมดลูกมากกว่า 50 mmHg. ——>Latent phase
สาเหตุ : ไม่ทราบแน่ชัด
แบ่งออกเป็น 3 ชนิด
In-coordinate uterine contraction
• หดรัดตัวแรงบริเวณตอนกลาง / ล่างมากกว่ายอดมดลูก
• ลักษณะการหดรัดตัวไม่มีการแผ่กระจายจากยอดมดลูก
• ระยะพักมดลูกคลายตัวไม่เต็มที่
• การหดรัดตัวไม่สม่ำเสมอ
Tetanic contraction
• มดลูกหดรัดตัวแรงมากกว่าปกติผู้คลอดมีอาการเจ็บปวดมาก
• มดลูกหดรัดตัวนาน > 90 ’’
• มดลูกหดรัดตัวมากกว่าปกติ
Constriction ring
• มีวงแหวนเกิดบนรอยคอดของทารกเหนือ Cx 7-8 ซม.
• ตรวจไม่พบรอยคอดท่ีเป็นวงแหวนทางหน้าท้อง PV
• มดลูกหดรัดตัวแรง ไม่สม่ำเสมอ
• ผู้คลอดเจ็บครรภ์มาก
Bandl’s
ภาวะผิดปกติลกัษณะเป็นวงแหวนคล้ายbraun’s แต่ระดับ ของวงแหวนจะสูงขึ้นเรื่อยๆ พบวงแหวนใกล้สะดือหรือสูงกว่า สามารถคลำ รอยคอดได้
Constriction
ภาวะผิดปกติเกิด เมื่อ Cx. 7 - 8 ซม. ตาแหน่งไม่เปลี่ยน อาจไม่พบทางหน้าท้อง ไม่ทำให้มดลูกแตก ทารกเคลื่อนต่ำไม่ได้
สาเหตุความผิดปกติของแรง
1.ไม่ทราบ
2.ท่าและส่วนนำผิดปกติ
3.การผิดสัดส่วนระหว่างทารก และกระดูกเชิงกราน
4.อื่นๆ เช่น จิตใจ ได้ยาแก้ปวด Bladder full
Psyche, Position / Physical condition
สาเหตุ
ความอ่อนล้า หมดแรง (exhautsion)
การตั้งครรภ์มีผลกับ ฮอร์โมน Estrogen &Progesreron ทำให้การควบคุมสารน้ำและ E-lyte เสียไป
การคลอด ทำให้ต้องงดน้ำงดอาหารทางปาก ความเจ็บปวดจากการหดรักตัวของมดลูกเพิ่มมากขึ้น พักผ่อนน้อยลง
ความวิตกกังวล (Anxiety)
ระดับ epinephrine สูงขึ้น กล้ามเนื้อทำงานลดลงทำให้การคลอดยาวนานขึ้น
Fear -tension-pain
รับรู้ต่อความเจ็บปวด—>Catecholamine—>ความเครียด —>มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
ฮอร์โมน
เบต้า-endophine ,cortisol,epinephrine,adenocorticotopic
Passager
Malpresentation
Vertex ศีรษะ
Face ใบหน้า
Compound มือร่วม
Breech ก้น
Lie
longitudinal
transverse
Attitude แกนลำตัวทารกกับแกนศีรษะทารก
Malposition
ROT
LOT
LOP
ROP
Anomalies of fetus
Oversize baby
Hydrocephalus
Conjoined twins
การดูแลรักษา
•ถ้าทารกขนาดปกติ เชิงกรานไม่แคบ คลอดปกติ
ถ้าเชิงกรานแคบ ให้ผ่าตัดคลอด
• ทารกตัวโต เชิงกรานแคบ ให้ผ่าตัดคลอด
• ถ้ากระดูกเชิงกรานไม่แคบ ทารกท่า mento posterior
2/3 จะมีการหมุนเป็น mento anterior จะคลอดได้เอง
ถ้าให้เวลาพอควร
1/3จะเป็น persistencementoposteriorต้องผ่าตัดคลอด
การคลอดติดไหล่
การติดแน่นของไหล่กับกระดูกหัวหน่าวภายหลังศีรษะคลอด
ผลของการคลอดติดไหล่
ต่อทารก :
Brachial plexus injury
ต่อมารดา
ตกเลือด
ติดเชื้อ
มดลูกแตก
การทำงานของกระเพาะปัสสาวะผิดปกติ
วิธีการช่วย
การทํา Supra pelvic และ McRoberts ’ maneuver
คลอดไหล่ล่างก่อนไหล่บน ท่าคุกเข่าก้มหน้า (All-four maneuver)
Wood’S corkscrew maneuver หมุนไหล่หลัง 180 องศาตามเข็ม ขึ้นไปหาหัวหน่าว Reverse Wood’S corkscrew maneuver หมุนไหล่หลัง 180 องศาตามเข็ม ขึ้นไปหาหัวหน่าว กดดด้านหลังไหล่หลังแล้วหมุนกลับในทางตรงกัน Rubin ใช้มือกดด้านหลังของไหล่หน้าทารก มาด้านหน้า และกด biacromial diameter
การพยาบาลหลังคลอดติดไหล่
มารดา : ตรวจการฉีกขาดของช่องคลอด การหดรัดตัวของมดลูก
ทารก : ตรวจร่างกาย Moro reflex ,Graping reflex
Passage
Soft part
มดลูก ปากมดลูก ช่องคลอด ฝีเย็บ กล้ามเนื้อ
Bony part
กระดูกช่องเชิงกราน
•sacral promontary
• pubic remi
• pubic symphysis
• pubic angle
• ischial spine
• ischail tubercle
ช่องออกเชิงกราน
Biischial diameter 8 cms./Pelvic arch angle 80 degree
ลักษณะรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน มีขอบเขตด้านหน้าเป็นขอบล่างของ กระดูกหัวเหน่า ด้านหลังจรดปลาย กระดูกก้นกบ ด้านข้างเป็น ischial tuberosity มีเส้นผ่าศูนย์กลางตาม แนวหน้าหลัง (anteroposterior diameter) ยาวที่สุดประมาณ 11.5 ซม.
การพยาบาล
• การใช้หัตถการช่วยคลอด
• การขยายช่องทางคลอด
• การเสริมการหดรัดตัวของมดลูก
สาเหตุ
เนื้องอกของมดลูก มีถุงน้ำ ที่ รังไข่ มะเร็งปากมดลูก
ปากมดลูกผิดปกติ เช่น ตับ ตัน แข็ง ไม่ยืดหยุ่น
เกิดจาก หูด หงอนไก่
ช่องคลอดผิดปกติ เช่น ตีบ และแคบมาตั้งแต่กำเนิด ประวัติผ่าตัดและพังผืด
ปากช่องคลอด และฝีเย็บผิด ปกติเช่นแข็ง และไม่ยืด
ตำแหน่งมดลูกผิดปกติ ได้แก่ คว่ำหน้า คว่ำหลัง
ปากมดลูกบวม
กระเพาะปัสสาวะเต็มหรือ มีอุจจาระมาก
ช่องภายในเชิงกราน
Interspinous diameter 9.5 cm.
เป็นท่อโค้งค่อนข้างกลม ขอบเขตจากจุดกงึ่ กลางของกระดูก หัวเหน่าถงึ รอยต่อระหว่างกระดูก sacrum ท่อนที่ 4 ,5 ด้านข้างเป็ น ischial spines เส้นผ่าศูนย์กลาง ตามแนวขวางแคบ (tranverse diameter หรือ Interspinous diameter ปกติยาวประมาณ 10 เซนติเมตร)
การดูแล
ไม่ควรใช้ oxytocion
V/E ดีกว่า F/E
แคบมาก เด็กตัวโต —->C/S
ช่องเข้าเชิงกราน
Diagonal conjuga te 11.5 cms
เป็นรูปรีตามขวาง ขอบเขตด้านหน้าเป็นขอบบน ของกระดูกหัวเหน่า ด้านข้างเป็น lineaterminalisด้านหลงัเป็น promontary of sacrum และมี เส้นผ่าศูนย์กลางตามแนวขวาง (transverse diameter) ยาวที่สุดด ประมาณ13ซม.
การประเมิน
ตรวจทางหน้าท้อง
ตรวจทางช่องคลอด
X-ray
Ultrasound
Cephalopelvic disproportion(CPD)
การผิดสัดส่วนระหว่างส่วนนำกับช่องเชิงกราน
ตรวจทางคลินิค:
ตรวจร่างกาย: Martin pelvimeter
ตรวจภายใน : Pelvic examination ; inlet,mid, outlet
Hellis -Muller maneuver กดยอดมดลูก
Munro Kerr maneuver กดศีรษะเดก็ เหนือหัวเหน่า
x-ray pelvimetry : กระดูกแตกหัก โรคของกระดูกเชิงกราน
รูปร่างของมารดา : เล็กส่วนสูงน้อยกว่า145ซม.กระดูก สันหลังคดงอ
ประวัติมารดา : คลอดยากตายคลอดช่วยคลอดอุบัตเหตุ
ตรวจครรภ์เมื่อครบกาหนด : ศีรษะยังลอยอยู่
การดูแล
ซักประวัติ ตรวจร่างกาย ตรวจภายใน
ผิดสัดส่วนชัดเจน
การคลอดไม่ก้าวหน้า
ปากมดลูก ไม่เปิดหรือเปิดช้า
ส่วนนำไม่เคลื่อนต่ำลง หนังศีรษะทารกบวม
กระโหลกทารกเกยกัน
ผ่าตัดคลอด
ผิดสัดส่วนไม่ชัดเจน
• เตรียมผู้คลอดให้พร้อมสำหรับผ่าตัด
• ดูแลผู้คลอดและทารกใกล้ชิด
• ประเมินความก้าวหน้าของคลอด
• อธิบายแผนการรักษา/ความก้าวหน้าของการคลอดเป็นระยะ