Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มความผิดปกติ น้ำคร่ำ และความผิดปกติของทารกในครรภ…
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มความผิดปกติ น้ำคร่ำ
และความผิดปกติของทารกในครรภ์
6.1) Polydramnios / Oligohydramnios
ภาวะน้ำคร่ำมากผิดปกติ
(hydramnios)
สาเหตุ
มารดาเป็นโรคเบาหวานระหว่างตงั้ครรภ์ การตั้งครรภ์แฝด
ภาวะอุดตันของระบบ ทางเดินอาหาร (GI tract obstruct)
ครรภ์แฝดที่มีภาวะแทรกซ้อน twin-to-twin transfusion syndrome
ผลกระทบ
มารดา
คลอดก่อนกำหนด
ช็อคจากความดันในช่องท้องลดลงอย่างรวดเร็ว
ตกเลือดหลังคลอด
ติดเชื้อหลงัคลอด
ทารก
ภาวะพิการ
ภาวะ fetal distress จากการเกิดสายสะดือย้อย (prolapsed umbilical cord)
ทารกอยทู่่าผิดปกติและไม่คงที
อาการและอาการแสดง
แน่นอึดอัด หายใจลำบาก เจบ็ชายโครง
มีอาการบวมบริเวณเท้า ขา และปากช่องคลอด
น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น
การวินิจฉัย
การซักประวัติอาการ และอาการแสดงการเกิดภาวะครรภ์แฝดน้ำ
การดูแลรักษา
การเจาะดูดน้ำคร่ำออก (amnioreduction)
การรักษาด้วยยา prostaglandin synthetase inhibitors
รับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง
ให้ยาขับปัสสาวะหากพบมีภาวะบวม
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
จัดท่ามารดานอนตะแคง ยกศีรษะสูง
สังเกตอาการภาวะ congestive heart failure
ทานอาหารที่ย่อยง่าย
ดูแลให้ได้รับการเจาะดูดน้ำคร่ำออก
ระยะคลอด
นอนพักบนเตียง
ฟัง FHS ในระยะ latent ทุก 30 นาที
้ได้รับสารน้ำและอาหารตามแผนการรักษา
ระยะหลังคลอด
ให้การพยาบาลเหมือนกบัหญิงตั้งครรภ์แฝด โดยเฉพาะดูแลการหดรัดตัวของมดลูกเพื่อป้องกัน การตกเลือดหลงัคลอด
น้ำคร่ำน้อยกว่าปกติ (oligohydramnios)
สาเหตุ
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
ทารกในครรภ์มีภาวะผิดปกติ
ความผิดปกติของโครโมโซม เช่น trisomy 18, turner syndrome
การตั้งครรภ์เกินกำหนด รกเสื่อมสภาพ
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
มารดา
มีโอกาสผ่าตัดคลอดทารกทางหน้าท้อง
ทารกในครรภ์เสี่ยงต่อ การเกิดภาวะ fetal distress
ทารก
คลอดก่อนกำหนด
ภาวะปอดแฟบ (pulmonary hypoplasia) เนื่องจากมีการกดต่อผนังทรวงอก
เกิดเยื่อพังผืดรัดและดึงรั้งมือและแขนหลายบริเวณ
ทารกอยู่ในภาวะคับขัน (fetal distress)
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR)
การวินิจฉัย
วัดโพรงน้ำคร่ำทลี่ึกทสีุ่ดในแนวดิ่ง(maximum ventrical pocket, MVP)
การวัดดัชนีน้ำคร่ำ amniotic fluid index (AFI)
การรักษา
การเติมน้ำคร่ำ (amnioinfusion) ด้วย normal saline
การดื่มน้ำมากๆ
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รบัการใส่สารน้ำเข้าไปในถุงน้ำคร้ำ (amnioinfusion)
6.2) ทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้า(Intra Uterine Growth Restriction: IUGR)
สาเหตุ
ด้านมารดา
มารดามีรูปร่างเล็ก
ภาวะโลหิตจางรุนแรง เช่น โรคธาลัสซีเมีย
มารดามีภาวะติดเชื้อ
ด้านทารก
การติดเชื้อในระยะตั้งครรภ
ความผิดปกติของโครโมโซม เช่น trisomy 21, trisomy 13, trisomy 18
การวินิจฉัย
ซักประวัติ เพื่อค้นหาสาเหตุและปจัจัยส่งเสริมของการเกิดภาวะทารกเจรญิเตบิโตช้าใน ครรภ
น้ำหนักเพมิ่ขึ้นนอ้ยหรือไม่มีการเพมิ่ขึ้นของ น้ำหนัก
ตรวจด้วยคลื่นความถี่สงู (ultrasound)
การรักษา
ระยะตั้งครรภ์
ติดตามสุขภาพของทารกในครรภ์ โดยแนะนำให้มารดานับลูกดิ้นทุกวัน
รับประทานอาหาร หลีกเลี่ยงการใช้ยาหรือสารเสพติด
ระยะคลอด
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอดอย่างใกล้ชิด
หลีกเลี่ยงการให้ยาแก้ปวด เนื่องจากยาจะกดการหายใจของทารกได้
ระยะหลังคลอด ให้การดูแลทารกเพื่อเฝ้าระวัง และป้องกันการเกิดภาวะ hypoglycemia, hypothermia, polycythemia
6.3 การตั้งครรภ์ที่ทารกมีจำนวนมากกวา่ 1 คน (Multiple/Twins pregnancy)
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อมารดา
ระยะคลอด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
กล้ามเนื้อมดลูกหดรัดตัวผิดปกติ
ระยะหลังคลอด
การติดเชื้อหลังคลอด
ตกเลือดหลังคลอด
ระยะตั้งครรภ์
คลื่นไส้อาเจียนมาก
ภาวะโลหิตจาง
การตกเลือดก่อนคลอด
เบาหวานในระหว่างตั้งครรภ์ (gestational diabetes)
ผลต่อทารก
ทารกตายในครรภ์
ภาวะคลอดก่อนกำหนด
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR)
ทารกอยู่ในท่าผิดปกต
การวินิจฉัย
การซักประวัติ ตรวจหน้าท้อง
การถ่ายภาพรังสีทางหน้าท้อง (radiographic examination
ฟังเสียงหัวใจทารกในครรภ์ได้ 2 ที่
แนวทางการดูแลรักษา
ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะอันตรายต่อทารกในระยะคลอด และทารกแรกคลอด
ดูแลการเจริญเติบโตของทารกอย่างใกล้ชิด
หลักการพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
. เฝ้าระวังการเกิดภาวะโลหิตจางอาจให้โฟลิคเสริม
เฝ้าระวังการความดันโลหิตสูงในระหว่างตั้งครรภ์
ติดตามการเจริญเติบโตของทารกในครรภ
ระยะคลอด
การพิจารณาวิธีการคลอด
การช่วยเหลือการคลอดของแฝดคนที่สอง
ระยะหลังคลอด
แนะนำการดูแลบุตร การเลี้ยงทารกด้วยนมมารดา
เฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด
6.4 ทารกพิการแต่กำเนิด (congenital anormality)
สาเหตุ
์มีอายุมากกว่า 35
ความผิดปกติของโครโมโซม
ความผิดปกติของยีนเดียว
ดาวน์ซินโดรม
ความผิดปกตินี้เรียกว่า trisomy 21
อาการ
ศีรษะและตา มีศีรษะแบนกว้าง และท้ายทอยแบน ตายาวรี เฉียงออกด้านนอกและ ชี้ขึ้นบน
มือและเท้า มีมือกว้างและสั้น มักมีเส้นลายนิ้วมือตัดขวางหรือตัดกลางเพื่อยงเส้น เดียวบนฝ่ามือ นิ้วมือป้อมสั้น นิ้วก้อยโค้งงอเข้า
พัฒนาการช้าหว่าเด็กธรรมกา มี IQ เฉลี่ย 25-50
การรักษาในปัจจุบันเป็นการรักษาแบบประคับประคองตามอาการ มุ่งเน้นให้เด็กสามารถ ช่วยเหลือตัวเองได้
ทารกศีรษะบวมน้ำหรือภาวะน้ำคั่งในโพรงสมอง (Hydrocephalus)
การวินิจฉัย
ประวัติการติดเชื้อโรคบางชนิด
ตรวจพบปริมาณน้ำคร่ำมากผิดปกติ
การรักษา
พิจารณายุติการตั้งครรภ์กรณีเป็นรุนแรงมาก
รักษาด้วยการใส่ shunt ในครรภ์
วัดขนาดของรอบศีรษะทารกทุกวัน
ทารกศีรษะเล็ก (Microcephaly)
การวินิจฉัย
มารดามีประวัติเป็น Phenylketonuria
ได้รับรงัสีขณะอยู่ในครรภ์
เกิดภาวะ Anoxia ขณะอยู่ในครรภ์
ขนาดของศรีษะเล็กกว่าปกติ หน้าผากเล็ก ใบหใูหญ่
การพยาบาล
การดูแลเกี่ยวกับท่านอน การหายใจ การ ให้ความอบอุ่น
อธิบายให้บิดามารดาเข้าใจเกี่ยวกบัสภาพของทาร
ภาวะหลอดประสาทไม่ปิด (neural tube defects: NTDs)
สาเหตุ
Genetic factors
Environmental factors
Folate deficiency
เยื่อหุ้มไขสันหลังยื่น (Spina bifida)
การวินิจฉัย
อาจพบ myelomeningocele sac ยื่นออกจากด้านหลังของกระดูกไขสันหลัง
พบว่าทารกมีก้อนสีแดง นุ่มตรงบริเวณช่องต่อระหว่างกระดูก ของกระดูกสันหลังหรือบริเวณสะโพก (Sacrum) และบริเวณบั้นเอว (Lumbar)
การพยาบาล
ท่านอนให้นอนในท่าตะแคง หรือ นอนคว่ำ
การให้ folic acid ในสตรีตั้งครรภจ์ะช่วยลดอัตราการเกิดโรคกระดูกสันหลังโหว่ได้
การดูแลและการพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ตรวจสอบความพิการของทารกในครรภ์ เพื่อยืนยันภาวะ
ระยะคลอด
์ ฟังเสียงหัวใจทารก และประเมินการหดรัดตัวของ มดลูก
ระยะหลังคลอด
ประเมินความต้องการสัมผัสทารก
ให้การประคบัประคองทางด้านจิตใจ
ปากแหว่งเพดานโหว่
สาเหตุ
กรรมพันธุ
ยังไม่ทราบแน่ชัด
สิ่งแวดล้อม
อาการและอาการแสดง
การได้ยินผิดปกติ
การติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนต้น
สำลักน้ำนมขึ้นจมูก
การพยาบาล
ภายหลังการให้ทารกดูดนมหรือให้นมต้องไล่ลมเป็นระยะ ๆ ทุก 15-30 นาที
ดูแลการให้นมแม่
6.5 ทารกตายในครรภ์ (Dead Fetus in Utero [DFU])
สาเหตุ
มารดาอายุมากกว่า 35 ปี
ไม่มาฝากครรภ์ หรือมาฝากครรภ์ไม่ครบตามกำหนด
ความผิดปกติของสายสะดือ
ทารกมีภาวะเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR)
มีการกดทับสายสะดือจากสายสะดือย้อย (prolapsed cord)
รกลอกตัวก่อนกำหนด
การวินิจฉัย
ฟังเสียงหัวใจทารกไม่ได้
พบสารคัดหลั่งสีน้ำตาลไหลออกทางช่องคลอด
ทารกไม่ดิ้นหรือดิ้นน้อยลง
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
มีโอกาสเกิดภาวะเลือดไม่ แข็งตัว (coagulopathy)
มีโอกาสติดเชื้อไวรัสและแบคทีเรีย
ทำให้เกิดความรู้สึกสูญเสีย ตกใจ ซึมเศร้า โทษตัวเอง
การรักษา
ไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์ ทำ suction curettage
ไตรมาสที่สอง เหน็บยา prostaglandin
ไตรมาสที่สามของการตั้งครรภ์ ให้ oxytocin
การพยาบาล
ให้ได้รับยายับยั้งการหลั่งน้ำนมตามแผนการรักษาของแพทย์
ประเมินความต้องการสัมผัสกับทารกแรกคลอดที่เสียชีวิต
ติดตามผลการตรวจเลือดเพื่อหาระยะการแข็งตัวของเลือด clotting time ระดับของ fibrinogen ในกรณีที่ทารกตายในครรภ์เกิน 2 สัปดาห์
ประคับประคองทางด้านจิตใจ