Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Module 2 กลยุทธ์การจัดการความรู้ - Coggle Diagram
Module 2
กลยุทธ์การจัดการความรู้
ความหมายและความสำคัญ
ความสำคัญ
แนวทางสู่เป้าหมายการจัดการความรู้ที่ชัดเจนขึ้น
เป็นการเลือกวิธีที่ดีที่สุดในสถานการณ์ที่เหมาะสม
เกิดความชัดเจนในภาระกิจและบทบาทที่เกี่ยวข้องของบุคลากรฝ่ายต่างๆ
เพิ่มโอกาสความสำเร็จด้านการจัดการความรู้ให้แก่องค์กร
แนวทางสู่ความสำเร็นในการพัฒนาองค์การสู่องค์การแห่งการเรียนรู้
แนวงทางที่ชัดเจนในการวัดและประเมินผลสำเร็จของการจัดการความรู้
ความสำคัญ
เป็นวิธีการที่เหมาะสมหรือดีที่สุดที่องค์การกำหนดขึ้นหลังจากที่ได้มีการวิเคราะห์และไตร่รองอย่างรอบคอบ
เป็นแนวทางการดำเนินการเกี่ยวกับการจัดการความรู้ภายในองค์การให้ประสบความสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลภายใต้เงื่อนไขของทรัพยากรที่มีอยู่
การแบ่งประเภท
ของกลยุทธ์การจัดการความรู้
1 ตามประเภทความรู้
2 แบบจำลองไอสเปซ
3 กระบวนการธุรกิจ
4 ตามผลลัพธ์สุดท้าย
5 ตามความนิยม
คุณลักษณะที่ดี
1 เป้าหมายที่กำหนด (เรียบง่าย ไม่ซับซ้อน คงเส้นคงวาและใช้ได้ระยะยาว)
2 สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมการแข่งขัน
3 เหมาะสมกับทรัพยากรที่องค์การมี
4 นำไปพัฒนาได้อย่างมีประสิทธิผล
องค์กระกอบสำคัญ
1 นโยบายขององค์การ
2 วิสัยทัศน์ขององค์การ
3 ขอบเขตและวัตถุประสงค์
4 แนวทางในการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์การ
5 หน่วยงานที่รับผิดชอบและทรัพยากรที่จัดสรรให้
6 กรอบงานการจัดการที่เกี่ยวข้อง
7 การวิเคราะห์เกี่ยวกับความรู้ที่จะพัฒนาเป็นโครงการนำร่อง
8 การวิเคราะห์เความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้องและภาพรวมของธุรกิจ
แนวทางของการพัฒนา
กลยุทธ์การจัดการความรู้
1 การกำหนดนโยบายการจัดการความรู้
2 การจัดตั้งคณะทำงานเพื่อพัฒนากลยุทธ์การจัดการความรู้
3 การวิเคราะห์นโยบายและเป้าหายของการจัดการความรู้
4 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกองค์การ
5 การวิเคราะห์โอกาสและภัยคุกคาม
6 การระบุจุดแข็งและจุดอ่อนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้
7 การวิเคราะห์ทรัพยากรขององค์การ
8 การกำหนดกลยุทธ์การจัดการความรู้
แนวทางของการ
เลือกกลยุทธ์การจัดการความรู้
1 สเปกตรัมการจัดการความรู้
2 มูลค่าหลักสามด้านในการทำธุรกิจ
3 การขับเคลื่อนจากภายนอก
4 คอมมอนเคเอดีเอส
5 การสังเคราะห์
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อ
ความสำเร็จในการพัฒนา
กลยุทธ์การจัดการความรู้
1 ปัจจัยด้านองค์การ
2 ปัจจัยด้านกระบวนการ
3 ปัจจัยด้านเทคโนโลยี
4 ปัจจัยด้านบุคลากร
การประยุกต์กลยุทธ์ในการจัดการความรู้ขององค์การอนามัยโลก (WHO) วัตถุประสงค์หลัก
วัตถุประสงค์หลัก
2 พัฒนาการจัดการความรู้ให้แก่หน่วยงานสาธารณสุขทั่วโลก
3 นำองค์การอนามัยโลกก้าวสู่องค์การแห่งการเรียนรู้
1 เพิ่มหลักเข้มแข็งในระบบสุขภาพของประเทศต่างๆ โดยใช้แนวทางการจัดการความรู้
ทิศทางกลยุทธ์ในการจัดการความรู้ของ WHO
1 การปรับปรุงคุณภาพงานของ WHO ผ่านกระบวนการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้
2 การอำนวยความสะดวกด้านการทำงานร่วมกันและสร้างเครือข่ายความรู้ด้านสุขภาพทั่วโลก
3 การพัฒนาความสามารถของ WHo ด้วยการเผยแพร่ความรู้ในรูปแบบการพิมพ์ในหลากหลายภาษา
4 การส่งเสริมการใช้สารสนเทศและเทคโนโลยการสื่อสาร
การประยุกต์กลยุทธ์ในการจัดการความรู้ของ IBM
วัตถุประสงค์หลัก
1 การใช้ความรู้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการซึ่งเป็นหัวใจสำคัญต่อการแข่งขัน
2 การสร้างความได้เปรียบคู่แข่งในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ
ทิศทางกลยุทธ์ในการจัดการความรู้ของ IBM
1 การจัดการทรัพย์สินทางปัญญา
2 การลดข้อจำกัดเรื่องสถานที่แหล่งที่มาและที่จัดเก็บของความรู้ ความเชี่ยวชาญและความชำนาญ
3 การทำงานร่วมกัน
4 การเรียนรู้ตามความต้องการ